ภาษาคำตี้
หน้าตา
(เปลี่ยนทางจาก ภาษาคำตี่)
ภาษาคำตี้ | |
---|---|
(တဲး)ၵမ်းတီႈ / (တဲး)ၵံးတီႈ | |
ภูมิภาค | พม่า, อินเดีย |
ชาติพันธุ์ | ชาวคำตี้ |
จำนวนผู้พูด | 13,000 คน (2000–2007)[1] |
ตระกูลภาษา | ขร้า-ไท
|
ระบบการเขียน | อักษรพม่า (แบบคำตี้ มีชื่อว่า Lik-Tai)[2] |
รหัสภาษา | |
ISO 639-3 | kht |
ภาษาคำตี้ หรือ ภาษาไทคำตี้ มีผู้พูดทั้งหมด 13,120 คน พบในพม่า 4,240 คน (พ.ศ. 2543) ทางภาคตะวันตกเฉียงเหนือ พบในประเทศอินเดีย 8,880 คน (พ.ศ. 2543) ในรัฐอัสสัม และรัฐอรุณาจัลประเทศ จัดอยู่ในตระกูลภาษาขร้า-ไท กลุ่มไท กลุ่มย่อยไทตะวันตกเฉียงใต้ ผู้พูดภาษานี้ในพม่าพูดภาษาพม่าหรือภาษาจิ่งเผาะได้ด้วย ส่วนผู้พูดภาษานี้ในอินเดียจะพูดภาษาอัสสัมได้ด้วย เขียนด้วยอักษรพม่า ชื่อ "คำตี้" มีความหมายว่า ที่ที่มีทองคำ
อ้างอิง
[แก้]- ↑ ภาษาคำตี้ ที่ Ethnologue (18th ed., 2015) (ต้องสมัครสมาชิก)
- ↑ Diller, Anthony (1992). "Tai languages in Assam: Daughters or Ghosts". Papers on Tai Languages, Linguistics and Literatures: 16.
อ่านเพิ่ม
[แก้]- Thai Khamti Grammar
- Inglis, Douglas. (forthcoming) Khamti Shan anti-ergative construction: a Tibeto-Burman influence? Linguistics of the Tibeto-Burman Area. 40(2).
- Inglis, Douglas. 2014. This here thing: Specifying Morphemes an3, nai1, and mai2 in Tai Khamti Reference-point Constructions. PhD Dissertation. The University of Alberta.
- Inglis, Douglas. 2013. Oral stop consonants in Tai Khamti: An acoustic study in voice onset time. Paper presented at ISCTLL46. Dartmouth College.
- Inglis, Douglas. 2013. Deictic mai2 'here' as an object marker in Khamti Shan: A Tibeto-Burman influence in Tai?. Paper presented at ISCTLL46. Dartmouth College.
- Inglis, Douglas. 2004. Preliminary report: Khamti Shan wordlist and lexicostatistical results. Payap University. Chiang Mai.