ข้ามไปเนื้อหา

ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป รุ่นอายุไม่เกิน 21 ปี 2017

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป
รุ่นอายุไม่เกิน 21 ปี
Mistrzostwa Europy U-21 w Piłce Nożnej 2017
รายละเอียดการแข่งขัน
ประเทศเจ้าภาพโปแลนด์
วันที่16–30 มีนาคม ค.ศ. 2017
ทีม12 (จาก 1 สมาพันธ์)
สถานที่6 (ใน 6 เมืองเจ้าภาพ)
อันดับเมื่อสิ้นสุดการแข่งขัน
ชนะเลิศ เยอรมนี (สมัยที่ 2)
รองชนะเลิศ สเปน
สถิติการแข่งขัน
จำนวนนัดที่แข่งขัน21
จำนวนประตู65 (3.1 ประตูต่อนัด)
ผู้ชม244,085 (11,623 คนต่อนัด)
ผู้ทำประตูสูงสุดสเปน ซาอุล
(5 ประตู)
ผู้เล่นยอดเยี่ยมสเปน ดานี เซบายอส
2015
2019

ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป รุ่นอายุไม่เกิน 21 ปี 2017 (อังกฤษ: 2017 UEFA European Under-21 Championship) เป็นการแข่งขันฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป รุ่นอายุไม่เกิน 21 ปี ครั้งที่ 21 จัดโดยยูฟ่า ซึ่งเป็นการแข่งขันของทีมเยาวชนรุ่นอายุไม่เกิน 21 ปีจากทีมยุโรป

รอบคัดเลือก[แก้]

ทีมที่ผ่านเข้ารอบ[แก้]

ประเทศ วิธีการเข้ารอบ วันที่เข้ารอบ จำนวนครั้งที่เข้ารอบ เข้ารอบครั้งล่าสุด ผลงานดีที่สุด
 โปแลนด์ เจ้าภาพ 26 มกราคม ค.ศ. 2015 6 1994 รอบ 8 ทีมสุดท้าย (1982, 1984, 1986, 1992, 1994)
 โปรตุเกส ชนะเลิศ กลุ่ม 4 6 กันยายน ค.ศ. 2016 8 2015 รองชนะเลิศ (1994, 2015)
 เดนมาร์ก ชนะเลิศ กลุ่ม 5 6 กันยายน ค.ศ. 2016 7 2015 รอบรองชนะเลิศ (1992, 2015)
 อังกฤษ ชนะเลิศ กลุ่ม 9 6 ตุลาคม ค.ศ. 2016 14 2015 ชนะเลิศ (1982, 1984)
 สโลวาเกีย ชนะเลิศ กลุ่ม 8 6 ตุลาคม ค.ศ. 2016 2 2000 อันดับที่ 4 (2000)
 เยอรมนี ชนะเลิศ กลุ่ม 7 7 ตุลาคม ค.ศ. 2016 13 2015 ชนะเลิศ (2009)
 เช็กเกีย ชนะเลิศ กลุ่ม 1 7 ตุลาคม ค.ศ. 2016 13 2015 ชนะเลิศ (2002)
 สวีเดน ชนะเลิศ กลุ่ม 6 10 ตุลาคม ค.ศ. 2016 8 2015 ชนะเลิศ (2015)
 อิตาลี ชนะเลิศ กลุ่ม 2 11 ตุลาคม ค.ศ. 2016 19 2015 ชนะเลิศ (1992, 1994, 1996, 2000, 2004)
 มาซิโดเนียเหนือ ชนะเลิศ กลุ่ม 3 11 ตุลาคม ค.ศ. 2016 1 ครั้งแรก
 สเปน เพลย์ออฟ ชนะเลิศ 15 พฤศจิกายน ค.ศ. 2016 13 2013 ชนะเลิศ (1986, 1998, 2011, 2013)
 เซอร์เบีย เพลย์ออฟ ชนะเลิศ 15 พฤศจิกายน ค.ศ. 2016 10 2015 ชนะเลิศ (1978)

การจับสลากรอบสุดท้าย[แก้]

การจับสลากในรอบสุดท้ายจะมีขึ้นในกรากุฟ วันที่ 1 ธันวาคม ค.ศ. 2016 เวลา 8:00 CET (UTC+1)[1] 12 ทีมจะถูกจัดอยู่ใน 3 กลุ่ม แบ่งเป็นกลุ่มละ 4 ทีม โดยโปแลนด์ซึ่งเป็นเจ้าภาพถูกจัดอยู่ในกลุ่มเอ

สนามแข่งขัน[แก้]

สมาคมฟุตบอลโปแลนด์ ได้เลือก 6 สนามสำหรับการแข่งขัน เมื่อวันที่ 7 มิถุนายน ค.ศ. 2016[2]

นัดเปิดสนามและกลุ่มเอ กลุ่มเอ กลุ่มบี
ลูบลิน กีแยลต์แซ กดือเนีย
Arena Lublin Kolporter Arena Stadion GOSiR
ความจุ: 15,500 ความจุ: 15,500 ความจุ: 15,139
กลุ่มบี กลุ่มซี, รอบรองชนะเลิศ, และรอบชิงชนะเลิศ กลุ่มซี และรอบรองชนะเลิศ
บึดก็อชตช์ กรากุฟ ตือคือ
Kompleks Sportowy Zawisza Stadion Cracovia Stadion Miejski
ความจุ: 20,247 ความจุ: 15,016 ความจุ: 15,300

ผู้เล่น[แก้]

รอบแบ่งกลุ่ม[แก้]

ชนะเลิศและรองชนะเลิศที่ดีที่สุดของกลุ่มจะได้ผ่านเข้าสู่รอบรองชนะเลิศ.

กลุ่ม เอ[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1  อังกฤษ (A) 3 2 1 0 5 1 +4 7 รอบแพ้คัดออก
2  สโลวาเกีย 3 2 0 1 6 3 +3 6 การผ่านเข้ารอบที่เป็นไปได้ขึ้นอยู่กับ การจัดอันดับ
3  สวีเดน (E) 3 0 2 1 2 5 −3 2
4  โปแลนด์ (H, E) 3 0 1 2 3 7 −4 1
แหล่งที่มา : ยูฟ่า
กฎการจัดอันดับ : Group stage tiebreakers
(A) ผ่านเข้าสู่รอบต่อไป; (E) ตกรอบ; (H) เจ้าภาพ.
สวีเดน 0–0 อังกฤษ
รายงาน
ผู้ชม: 11,672 คน
ผู้ตัดสิน: Tobias Stieler (Germany)
โปแลนด์ 1–2 สโลวาเกีย
Lipski ประตู 1' รายงาน Valjent ประตู 20'
Šafranko ประตู 78'
ผู้ชม: 14,911 คน
ผู้ตัดสิน: Serdar Gözübüyük (Netherlands)

สโลวาเกีย 1–2 อังกฤษ
Chrien ประตู 23' รายงาน Mawson ประตู 50'
Redmond ประตู 61'
ผู้ชม: 12,087 คน
ผู้ตัดสิน: Gediminas Mažeika (Lithuania)
โปแลนด์ 2–2 สวีเดน
Moneta ประตู 6'
Kownacki ประตู 90+1' (ลูกโทษ)
รายงาน Strandberg ประตู 36'
Une Larsson ประตู 41'
ผู้ชม: 14,651 คน
ผู้ตัดสิน: Slavko Vinčić (Slovenia)

อังกฤษ 3–0 โปแลนด์
Gray ประตู 6'
Murphy ประตู 69'
Baker ประตู 82' (ลูกโทษ)
รายงาน
ผู้ชม: 13,176 คน
ผู้ตัดสิน: Harald Lechner (Austria)
สโลวาเกีย 3–0 สวีเดน
Chrien ประตู 5'
Mihalík ประตู 22'
Šatka ประตู 73'
รายงาน
ผู้ชม: 11,203 คน
ผู้ตัดสิน: Jesús Gil Manzano (Spain)

กลุ่ม บี[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1  สเปน (A) 3 3 0 0 9 1 +8 9 รอบแพ้คัดออก
2  โปรตุเกส (E) 3 2 0 1 7 5 +2 6 การผ่านเข้ารอบที่เป็นไปได้ขึ้นอยู่กับ การจัดอันดับ
3  เซอร์เบีย (E) 3 0 1 2 2 5 −3 1
4  มาซิโดเนียเหนือ (E) 3 0 1 2 4 11 −7 1
แหล่งที่มา : ยูฟ่า
กฎการจัดอันดับ : Group stage tiebreakers
(A) ผ่านเข้าสู่รอบต่อไป; (E) ตกรอบ.
โปรตุเกส 2–0 เซอร์เบีย
Guedes ประตู 37'
Fernandes ประตู 88'
รายงาน
ผู้ชม: 10,724
ผู้ตัดสิน: Benoît Bastien (France)
สเปน 5–0 มาซิโดเนียเหนือ
ซาอุล ประตู 10'
อาเซนซีโอ ประตู 16'54'72'
เด็วลูเฟ็ว ประตู 35' (ลูกโทษ)
รายงาน
ผู้ชม: 8,269
ผู้ตัดสิน: Harald Lechner (Austria)

เซอร์เบีย 2–2 มาซิโดเนียเหนือ
Gaćinović ประตู 24'
Đurđević ประตู 90'
รายงาน Bardhi ประตู 64' (ลูกโทษ)
Gjorgjev ประตู 83'
ผู้ชม: 5,121 คน
ผู้ตัดสิน: Bobby Madden (Scotland)
โปรตุเกส 1–3 สเปน
Bruma ประตู 77' รายงาน ซาอุล ประตู 21'
ซันโดร ประตู 65'
วิลเลียมส์ ประตู 90+3'
ผู้ชม: 13,832 คน
ผู้ตัดสิน: Tobias Stieler (Germany)

มาซิโดเนียเหนือ 2–4 โปรตุเกส
Bardhi ประตู 40'
Markoski ประตู 80'
รายงาน Edgar Ié ประตู 2'
Bruma ประตู 22'90+1'
Daniel Podence ประตู 57'
ผู้ชม: 7,533 คน
ผู้ตัดสิน: Ivan Kružliak (Slovakia)
เซอร์เบีย 0–1 สเปน
รายงาน เดนิส ซัวเรซ ประตู 38'
ผู้ชม: 12,058 คน
ผู้ตัดสิน: Gediminas Mažeika (Lithuania)

กลุ่ม ซี[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1  อิตาลี 3 2 0 1 4 3 +1 6 รอบแพ้คัดออก
2  เยอรมนี 3 2 0 1 5 1 +4 6 การผ่านเข้ารอบที่เป็นไปได้ขึ้นอยู่กับ การจัดอันดับ
3  เดนมาร์ก 3 1 0 2 4 7 −3 3
4  เช็กเกีย 3 1 0 2 5 7 −2 3
แหล่งที่มา : ยูฟ่า
กฎการจัดอันดับ : Group stage tiebreakers
เยอรมนี 2–0 เช็กเกีย
Meyer ประตู 44'
Gnabry ประตู 50'
รายงาน
ผู้ชม: 14,051 คน
ผู้ตัดสิน: Jesús Gil Manzano (Spain)
เดนมาร์ก 0–2 อิตาลี
รายงาน Pellegrini ประตู 54'
Petagna ประตู 86'
ผู้ชม: 8,754 คน
ผู้ตัดสิน: Ivan Kružliak (Slovakia)

เช็กเกีย 3–1 อิตาลี
Trávník ประตู 24'
Havlík ประตู 79'
Lüftner ประตู 85'
รายงาน Berardi ประตู 70'
ผู้ชม: 13,251 คน
ผู้ตัดสิน: Benoît Bastien (France)
เยอรมนี 3–0 เดนมาร์ก
Selke ประตู 53'
Kempf ประตู 73'
Amiri ประตู 79'
รายงาน
ผู้ชม: 9,298 คน
ผู้ตัดสิน: Serdar Gözübüyük (Netherlands)

อิตาลี 1–0 เยอรมนี
Bernardeschi ประตู 31' รายงาน
ผู้ชม: 14,039 คน
ผู้ตัดสิน: Slavko Vinčić (Slovenia)
เช็กเกีย 2–4 เดนมาร์ก
Schick ประตู 27'
Chorý ประตู 54'
รายงาน L. Andersen ประตู 23'
Zohore ประตู 35'73'
Ingvartsen ประตู 90+1'
ผู้ชม: 9,047 คน
ผู้ตัดสิน: Bobby Madden (Scotland)

ตารางคะแนนของทีมอันดับที่ 2 ที่ดีที่สุด[แก้]

อันดับ กลุ่ม ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1 C  เยอรมนี 3 2 0 1 5 1 +4 6 รอบแพ้คัดออก
2 A  สโลวาเกีย 3 2 0 1 6 3 +3 6
3 B  โปรตุเกส 3 2 0 1 7 5 +2 6
แหล่งที่มา : ยูฟ่า
กฎการจัดอันดับ : 1) points; 2) goal difference; 3) goals scored; 4) disciplinary points; 5) coefficient (Regulations Article 18.03).[3]

รอบแพ้คัดออก[แก้]

สายการแข่งขัน[แก้]

 
รอบรองชนะเลิศรอบชิงชนะเลิศ
 
      
 
27 มิถุนายน – Tychy
 
 
 อังกฤษ2 (3)
 
30 มิถุนายน – Kraków
 
 เยอรมนี (ลูกโทษ)2 (4)
 
 เยอรมนี1
 
27 มิถุนายน – Kraków
 
 สเปน0
 
 สเปน3
 
 
 อิตาลี1
 

รอบรองชนะเลิศ[แก้]


สเปน 3–1 อิตาลี
ซาอุล ประตู 53'65'74' รายงาน แบร์นาร์เดสกี ประตู 62'
ผู้ชม: 15,000 คน
ผู้ตัดสิน: Slavko Vinčić (สโลวีเนีย)

รอบชิงชนะเลิศ[แก้]

เยอรมนี 1–0 สเปน
ไวเซอร์ ประตู 40' รายงาน
ผู้ชม: 14,059 คน[4]
ผู้ตัดสิน: Benoît Bastien (ฝรั่งเศส)

อันดับดาวซัลโว[แก้]

การแข่งขันทั้งหมดมี 65 ประตูที่ทำได้ใน 21 นัด, สำหรับค่าเฉลี่ย 3.1 ประตูต่อนัด.

หมายเหตุ: ผู้เล่นที่อยู่ใน ตัวหนา คือยังอยู่ในระบบการแข่งขัน.

5 ประตู
3 ประตู
2 ประตู
1 ประตู

รางวัล[แก้]

รางวัลด้านล่างนี้คือรางวัลที่ได้รับในช่วงท้ายของการแข่งขัน:

ทีมยอดเยี่ยมประจำทัวร์นาเมนต์[แก้]

หลังทัวร์นาเมนต์ การจัดทีมยอดเยี่ยมประจำทัวร์นาเมนต์อายุไม่เกิน 21 ปี เป็นการเลือกโดยผู้สังเกตการณ์ด้านเทคนิคยูฟ่า.[7]

ตำแหน่ง ผู้เล่น
ผู้รักษาประตู เยอรมนี Julian Pollersbeck
กองหลัง เยอรมนี Jeremy Toljan
สโลวาเกีย Milan Škriniar
เยอรมนี Niklas Stark
เยอรมนี Yannick Gerhardt
กองกลาง เยอรมนี Maximilian Arnold
สเปน Dani Ceballos
เยอรมนี Max Meyer
สเปน Saúl Ñíguez
กองหน้า สเปน Marco Asensio
อิตาลี Federico Bernardeschi

อ้างอิง[แก้]

  1. "Final tournament draw". UEFA.com.
  2. "Za nami konferencja One Year To Go! Finał imprezy w Krakowie!". Sport.interia.pl. 7 June 2016. สืบค้นเมื่อ 7 June 2016.
  3. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ regulations
  4. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ attendance
  5. "Spain's Dani Ceballos named Player of the Tournament". UEFA.com. 30 มิถุนายน พ.ศ. 2560. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |date= (help)
  6. "Saúl Ñíguez wins U21 EURO adidas Golden Boot". UEFA.com. 30 มิถุนายน พ.ศ. 2560. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |date= (help)
  7. "The official Under-21 Team of the Tournament". UEFA.com. 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2560. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |date= (help)

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]