ข้ามไปเนื้อหา

ฟุตบอลชายหาดเอเชียนคัพ 2023

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ฟุตบอลชายหาดเอเชียนคัพ 2023
AFC Beach Soccer Asian Cup 2023
รายละเอียดการแข่งขัน
ประเทศเจ้าภาพไทย ประเทศไทย
เมืองพัทยา
วันที่16–26 มีนาคม 2566
ทีม16 (จาก 1 สมาพันธ์)
สถานที่จอมเทียน บีช อารีนา
อันดับเมื่อสิ้นสุดการแข่งขัน
ชนะเลิศธงชาติอิหร่าน อิหร่าน (สมัยที่ 3)
รองชนะเลิศธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น
อันดับที่ 3ธงชาติโอมาน โอมาน
อันดับที่ 4Flag of the United Arab Emirates สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์
สถิติการแข่งขัน
จำนวนนัดที่แข่งขัน32
จำนวนประตู249 (7.78 ประตูต่อนัด)
ผู้ทำประตูสูงสุดญี่ปุ่น Takuya Akaguma
ผู้เล่นยอดเยี่ยมอิหร่าน Moslem Mesigar
ผู้รักษาประตูยอดเยี่ยมอิหร่าน Seyed Mahdi Mirjalili
2025

การแข่งขัน ฟุตบอลชายหาดเอเชียนคัพ 2023 เป็นครั้งที่ 10 (ครั้งที่ 3 อย่างเป็นทางการ) ของฟุตบอลชายหาดเอเชียนคัพ (ที่ผ่านมา เอเอฟซี บีช ซอคเกอร์ แชมเปียนชิป ก่อนจะเปลี่ยนชื่อนับจากปี 2021),[1] ทัวร์นาเมนต์เอกของ ฟุตบอลชายหาด ที่จัดการแข่งขันโดยทีมชายของทวีปเอเชีย จัดขึ้นโดย สมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย (เอเอฟซี)

การแข่งขันจะจัดขึ้นที่ พัทยา ประเทศไทย การแข่งขันชิงแชมป์ยังทำหน้าที่เป็นทัวร์นาเมนต์รอบคัดเลือกสำหรับทีมจากทวีปเอเชียไปสู่ ฟุตบอลชายหาดชิงแชมป์โลก 2023 ซึ่งจะจัดขึ้นใน สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ผู้เข้ารอบสุดท้ายจะได้สิทธิ์ไปลุยฟุตบอลโลก รวมถึง สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ที่ผ่านเข้ารอบโดยอัตโนมัติในฐานะเจ้าภาพ ซึ่งหากสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์เข้าถึงรอบชิงชนะเลิศ ทีมที่ได้อันดับสามก็จะได้ผ่านเข้ารอบแทน

ทีม[แก้]

ทั้งหมด 16 ทีมเข้าสู่การแข่งขันครั้งนี้

ทีม จำนวนครั้งที่เข้าร่วม ผลงานที่ดีที่สุดครั้งที่ผ่านมา
ธงชาติอัฟกานิสถาน อัฟกานิสถาน ครั้งที่ 4 รอบแบ่งกลุ่ม (2013, 2017, 2019)
ธงชาติบาห์เรน บาห์เรน ครั้งที่ 9 ชนะเลิศ (2006)
ธงชาติจีน จีน ครั้งที่ 10 อันดับที่ 4 (2006, 2008)
ธงชาติอิหร่าน อิหร่าน ครั้งที่ 10 ชนะเลิศ (2013, 2017)
ธงชาติอินโดนีเซีย อินโดนีเซีย ครั้งที่ 2 รอบแบ่งกลุ่ม (2011)
ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น ครั้งที่ 10 ชนะเลิศ (2009, 2011, 2019)
ธงชาติคูเวต คูเวต ครั้งที่ 4 รอบแบ่งกลุ่ม (2011, 2015, 2019)
ธงชาติคีร์กีซสถาน คีร์กีซสถาน ครั้งที่ 2 รอบแบ่งกลุ่ม (2019)
ธงชาติเลบานอน เลบานอน ครั้งที่ 5 อันดับที่ 4 (2015, 2017)
ธงชาติมาเลเซีย มาเลเซีย ครั้งที่ 3 รอบก่อนรองชนะเลิศ (2019)
ธงชาติโอมาน โอมาน ครั้งที่ 7 ชนะเลิศ (2015)
ธงชาติรัฐปาเลสไตน์ ปาเลสไตน์ ครั้งที่ 3 อันดับที่ 4 (2019)
ธงชาติซาอุดีอาระเบีย ซาอุดีอาระเบีย ครั้งที่ 2 รอบแบ่งกลุ่ม (2013)
ธงชาติไทย ไทย (เจ้าภาพ) ครั้งที่ 5 รอบแบ่งกลุ่ม (2013, 2015, 2017, 2019)
Flag of the United Arab Emirates สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ครั้งที่ 9 ชนะเลิศ (2007, 2008)
ธงชาติอุซเบกิสถาน อุซเบกิสถาน ครั้งที่ 6 รอบก่อนรองชนะเลิศ (2011, 2015)

การจับสลาก[แก้]

การจับสลากสำหรับทัวร์นาเมนต์ได้จัดขึ้นเมื่อวันที่ 19 มกราคม ค.ศ. 2023 ในกรุงกัวลาลัมเปอร์, ประเทศมาเลเซีย. 16 ทีมถูกจับสลากอยู่ในสี่กลุ่มที่มีสี่ทีม. แต่ละทีมจะเป็นทีมวางตามผลงานของพวกเขาใน ฟุตบอลชายหาดชิงแชมป์เอเชีย 2019 รอบสุดท้าย, กับชาติเจ้าภาพ ประเทศไทย ได้เป็นทีมวางโดยอัตโนมัติและถูกจัดให้อยู่ในตำแหน่ง เอ1 ในการจับสลาก.

โถ 1 โถ 2 โถ 3 โถ 4

รอบแบ่งกลุ่ม[แก้]

กลุ่ม เอ[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ W+ WP แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1 ธงชาติไทย ไทย (H) 3 2 0 0 1 9 7 +2 6 รอบแพ้คัดออก
2 ธงชาติบาห์เรน บาห์เรน 3 2 0 0 1 8 7 +1 6
3 ธงชาติซาอุดีอาระเบีย ซาอุดีอาระเบีย 3 1 0 1 1 10 10 0 4
4 ธงชาติอัฟกานิสถาน อัฟกานิสถาน 3 0 0 0 3 10 13 −3 0
แหล่งที่มา : เอเอฟซี
กฎการจัดอันดับ :
(H) Host.
บาห์เรน ธงชาติบาห์เรน4–2ธงชาติอัฟกานิสถาน อัฟกานิสถาน
  • Jamal ประตู 1'
  • Yaqoob ประตู 19'24'
  • Abdulrasool ประตู 27'
รายงาน
  • T. Haidari ประตู 18'25'
จอมเทียน บีช อารีนา, พัทยา
ผู้ตัดสิน: Abdulaziz Abdullah (คูเวต)
ไทย ธงชาติไทย2–3ธงชาติซาอุดีอาระเบีย ซาอุดีอาระเบีย
  • คมกริช ประตู 3'
  • สุริยา ประตู 17'
รายงาน
  • Bawdah ประตู 2'
  • Al-Hamami ประตู 10'
  • Mo. Al-Shammari ประตู 24'
จอมเทียน บีช อารีนา, พัทยา
ผู้ตัดสิน: Shao Liang (จีน)

ซาอุดีอาระเบีย ธงชาติซาอุดีอาระเบีย3–4ธงชาติบาห์เรน บาห์เรน
  • Yakl ประตู 27'
  • Safhi ประตู 32'
  • Bawdah ประตู 34'
รายงาน
  • Al-Yaqoobi ประตู 8'
  • Ashoor ประตู 10'
  • Jamal ประตู 36'
  • Yaqoob ประตู 36'
จอมเทียน บีช อารีนา, พัทยา
ผู้ตัดสิน: Turki Al-Salehi (โอมาน)
อัฟกานิสถาน ธงชาติอัฟกานิสถาน4–5ธงชาติไทย ไทย
  • T. Haidari ประตู 11'
  • Himat ประตู 21'
  • Chalermchai ประตู 24' (เข้าประตูตัวเอง)
  • Homauni ประตู 35'
รายงาน
  • สุริยา ประตู 5'
  • คมกริช ประตู 2'8'
  • นที ประตู 9'
  • รัฐพงษ์ ประตู 19'
จอมเทียน บีช อารีนา, พัทยา
ผู้ตัดสิน: Yuichi Hatano (ญี่ปุ่น)

อัฟกานิสถาน ธงชาติอัฟกานิสถาน4–4 (ต่อเวลาพิเศษ)ธงชาติซาอุดีอาระเบีย ซาอุดีอาระเบีย
  • Farooq ประตู 16'
  • Rabani ประตู 17'
  • Mohammadi ประตู 21'
  • Jafari ประตู 24'
รายงาน
  • Mo. Al-Shammari ประตู 2'3'
  • Al-Hamami ประตู 6'
  • Al-Youbi ประตู 26'
ลูกโทษ
  • Mohammadi Penalty scored
  • Homauni Missed
  • Farooq Penalty scored
  • T. Haidari Missed
2–4
  • Penalty scored Bawdah
  • Penalty scored Al-Hamami
  • Missed Tumayhi
  • Penalty scored Dakman
  • Penalty scored Al-Askah
จอมเทียน บีช อารีนา, พัทยา
ผู้ตัดสิน: Abdulaziz Abdullah (คูเวต)
ไทย ธงชาติไทย2–0ธงชาติบาห์เรน บาห์เรน
  • ฐานันดร ประตู 19'
  • วัชระ ประตู 36'
รายงาน
จอมเทียน บีช อารีนา, พัทยา
ผู้ตัดสิน: Turki Al-Salehi (โอมาน)

กลุ่ม บี[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ W+ WP แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1 ธงชาติอิหร่าน อิหร่าน 3 3 0 0 0 32 9 +23 9 รอบแพ้คัดออก
2 Flag of the United Arab Emirates สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ 3 2 0 0 1 11 10 +1 6
3 ธงชาติอุซเบกิสถาน อุซเบกิสถาน 3 1 0 0 2 8 17 −9 3
4 ธงชาติมาเลเซีย มาเลเซีย 3 0 0 0 3 10 25 −15 0
แหล่งที่มา : เอเอฟซี
กฎการจัดอันดับ :
อิหร่าน ธงชาติอิหร่าน14–5ธงชาติมาเลเซีย มาเลเซีย
  • Mesigar ประตู 1'12'
  • Akbari ประตู 2'
  • Mirshekari ประตู 3' (ลูกโทษ)24'
  • Rezaei ประตู 5'16'
  • Amiri ประตู 7'
  • Shirmohammadi ประตู 13'29'
  • Baltork ประตู 14'36'
  • Mokhtari ประตู 28'
  • Khosravi ประตู 36'
รายงาน
  • Norazman ประตู 1'
  • Faisal ประตู 6'
  • Hasrol ประตู 18'
  • Qushairie ประตู 20'
  • Ridhwan ประตู 35'
จอมเทียน บีช อารีนา, พัทยา
ผู้ตัดสิน: Makoto Sato (ญี่ปุ่น)
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ Flag of the United Arab Emirates4–0ธงชาติอุซเบกิสถาน อุซเบกิสถาน
รายงาน
จอมเทียน บีช อารีนา, พัทยา
ผู้ตัดสิน: Fallah Al-Balushi (โอมาน)

อุซเบกิสถาน ธงชาติอุซเบกิสถาน2–11ธงชาติอิหร่าน อิหร่าน
  • Rasulov ประตู 18'
  • Mallaev ประตู 23'
รายงาน
  • Mirshekari ประตู 2'22'
  • Baltork ประตู 12'15'
  • Mokhtari ประตู 13'25'35'
  • Amiri ประตู 19'
  • Mesigar ประตู 24'32'
  • Shirmohammadi ประตู 34'
จอมเทียน บีช อารีนา, พัทยา
ผู้ตัดสิน: Li Qibin (จีน)
มาเลเซีย ธงชาติมาเลเซีย3–5Flag of the United Arab Emirates สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์
  • Norazman ประตู 25'
  • Hafizam ประตู 27'
  • Hasrol ประตู 33'
รายงาน
  • A. Mohammadi ประตู 5'28' (ลูกโทษ)
  • A. Beshr ประตู 7'
  • W. Beshr ประตู 20'
  • Al-Blooshi ประตู 31'
จอมเทียน บีช อารีนา, พัทยา
ผู้ตัดสิน: Abdulaziz Abdullah (คูเวต)

มาเลเซีย ธงชาติมาเลเซีย2–6ธงชาติอุซเบกิสถาน อุซเบกิสถาน
  • Qushairie ประตู 9'
  • Zulhairi ประตู 16'
รายงาน
  • Mallaev ประตู 3'
  • Khalimov ประตู 9'21'
  • Kodirov ประตู 15'
  • Rasulov ประตู 20'21'
จอมเทียน บีช อารีนา, พัทยา
ผู้ตัดสิน: Timur Gulmyradow (เติร์กเมนิสถาน)
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ Flag of the United Arab Emirates2–7ธงชาติอิหร่าน อิหร่าน
  • W. Mohammadi ประตู 16'18'
รายงาน
  • Mirshekari ประตู 3'
  • Shirmohammadi ประตู 15'24'
  • Baltork ประตู 19'
  • Mirjajili ประตู 20'
  • Moradi ประตู 26'
  • Mokhtari ประตู 32'
จอมเทียน บีช อารีนา, พัทยา
ผู้ตัดสิน: Yuichi Hatano (ญี่ปุ่น)

กลุ่ม ซี[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ W+ WP แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1 ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น 3 3 0 0 0 22 4 +18 9 รอบแพ้คัดออก
2 ธงชาติจีน จีน 3 2 0 0 1 10 11 −1 6
3 ธงชาติเลบานอน เลบานอน 3 1 0 0 2 16 13 +3 3
4 ธงชาติอินโดนีเซีย อินโดนีเซีย 3 0 0 0 3 4 24 −20 0
แหล่งที่มา : เอเอฟซี
กฎการจัดอันดับ :
เลบานอน ธงชาติเลบานอน1–4ธงชาติจีน จีน
  • Haidar ประตู 4'
รายงาน
  • Cai Weiming ประตู 28'
  • Li Yueming ประตู 30'
  • Liu Haoran ประตู 33'34'
จอมเทียน บีช อารีนา, พัทยา
ผู้ตัดสิน: Turki Al-Salehi (โอมาน)
ญี่ปุ่น ธงชาติญี่ปุ่น7–0ธงชาติอินโดนีเซีย อินโดนีเซีย
  • Akaguma ประตู 2'18'
  • Yamada ประตู 12'23'
  • Moreira ประตู 21'29'
  • Yamauchi ประตู 28'
รายงาน
จอมเทียน บีช อารีนา, พัทยา
ผู้ตัดสิน: สุวัฒน์ วงศ์สุวรรณ (ไทย)

อินโดนีเซีย ธงชาติอินโดนีเซีย0–12ธงชาติเลบานอน เลบานอน
รายงาน
  • Merhi ประตู 10'18'26'
  • El Khatib ประตู 12'
  • Bate ประตู 18' (o.g.)
  • Al Saleh ประตู 19'
  • Mi. Matar ประตู 25'
  • Haidar ประตู 26'
  • Grada ประตู 27'33'
  • Abdullah ประตู 30'
  • Me. Matar ประตู 36'
จอมเทียน บีช อารีนา, พัทยา
ผู้ตัดสิน: Nayim Kosimov (อุซเบกิสถาน)
จีน ธงชาติจีน1–6ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น
  • Han Xuegeng ประตู 7'
รายงาน
  • Yamauchi ประตู 9'
  • Shibamoto ประตู 9'
  • Oba ประตู 16'
  • Akaguma ประตู 23'23'
  • Ito ประตู 36'
จอมเทียน บีช อารีนา, พัทยา
ผู้ตัดสิน: Fallah Al-Balushi (โอมาน)

จีน ธงชาติจีน5–4ธงชาติอินโดนีเซีย อินโดนีเซีย
  • Bai Fan ประตู 13'18'
  • Cai Weiming ประตู 21'
  • Han Xuegeng ประตู 24'
  • Liu Haoran ประตู 24'
รายงาน
  • Bate ประตู 6'28'
  • Widnyana ประตู 9'
  • Dwipayudha ประตู 34'
จอมเทียน บีช อารีนา, พัทยา
ผู้ตัดสิน: สุวัฒน์ วงศ์สุวรรณ (ไทย)
ญี่ปุ่น ธงชาติญี่ปุ่น9–3ธงชาติเลบานอน เลบานอน
  • Oba ประตู 7'29'
  • Akaguma ประตู 9'31'36'
  • Moreira ประตู 17'
  • Shibamoto ประตู 26'
  • Kibune ประตู 29'
  • Uesato ประตู 32'
รายงาน
  • Al Saleh ประตู 28'36'
  • Haidar ประตู 34'
จอมเทียน บีช อารีนา, พัทยา
ผู้ตัดสิน: Waleed Mohamed Mahmood Abdulkarim (บาห์เรน)

กลุ่ม ดี[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ W+ WP แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1 ธงชาติโอมาน โอมาน 3 3 0 0 0 17 2 +15 9 รอบแพ้คัดออก
2 ธงชาติคูเวต คูเวต 3 1 0 1 1 10 9 +1 4
3 ธงชาติรัฐปาเลสไตน์ ปาเลสไตน์ 3 1 0 0 2 4 12 −8 3
4 ธงชาติคีร์กีซสถาน คีร์กีซสถาน 3 0 0 0 3 6 14 −8 0
แหล่งที่มา : เอเอฟซี
กฎการจัดอันดับ :
ปาเลสไตน์ ธงชาติรัฐปาเลสไตน์0–5ธงชาติคูเวต คูเวต
รายงาน
  • Mo. Al-Shafei ประตู 5'
  • Al-Enezi ประตู 21'36'
  • Darweesh ประตู 24'
  • Al-Manaye ประตู 35'
จอมเทียน บีช อารีนา, พัทยา
ผู้ตัดสิน: Ibrahim Al-Raeesi (สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์)
โอมาน ธงชาติโอมาน7–0ธงชาติคีร์กีซสถาน คีร์กีซสถาน
  • Al Bulushi ประตู 14'32'
  • Y. Al Owaisi ประตู 28'
  • Al Muraiki ประตู 29'30'
  • K. Al Oraimi ประตู 34'
  • Al Hindasi ประตู 36'
รายงาน
จอมเทียน บีช อารีนา, พัทยา
ผู้ตัดสิน: Hassan Abed (เลบานอน)

คีร์กีซสถาน ธงชาติคีร์กีซสถาน2–3ธงชาติรัฐปาเลสไตน์ ปาเลสไตน์
  • Omorov ประตู 6'
  • Dordoshev ประตู 22'
รายงาน
  • Hassan ประตู 6'
  • Atiya ประตู 16'
  • Al-Qaddi ประตู 31'
จอมเทียน บีช อารีนา, พัทยา
ผู้ตัดสิน: ศุภฤทธิ์ อุดมา (ไทย)
คูเวต ธงชาติคูเวต1–5ธงชาติโอมาน โอมาน
  • Al-Rouqi ประตู 5'
รายงาน
  • Al Muraiki ประตู 1'
  • Al Bulushi ประตู 8'
  • K. Al Oraimi ประตู 13'14'
  • Al Sauti ประตู 28'
จอมเทียน บีช อารีนา, พัทยา
ผู้ตัดสิน: Ibrahim Al-Raeesi (สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์)

คูเวต ธงชาติคูเวต4–4 (ต่อเวลาพิเศษ)ธงชาติคีร์กีซสถาน คีร์กีซสถาน
รายงาน
  • Dzhailoobaev ประตู 11'
  • Usenbaev ประตู 14'
  • Ke. Mukaev ประตู 24'
  • Sodaliev ประตู 33'
ลูกโทษ
  • Al-Manaye Missed
  • Mo. Al-Shafei Missed
  • Al-Kandari Penalty scored
  • Al-Rouqi Penalty scored
  • Darweesh Penalty scored
3–2
  • Missed Diushenov
  • Penalty scored Muktarbekov
  • Missed Dzhailoobaev
  • Missed Kaiykbik Uulu
  • Penalty scored Ke. Mukaev
จอมเทียน บีช อารีนา, พัทยา
ผู้ตัดสิน: Abdulla Saleh (บาห์เรน)
โอมาน ธงชาติโอมาน5–1ธงชาติรัฐปาเลสไตน์ ปาเลสไตน์
  • Al Sauti ประตู 14'
  • Mu. Al Araimi ประตู 17'
  • Ma. Al Araimi ประตู 21'
  • Al Hindasi ประตู 22'
  • Y. Al Owaisi ประตู 23'
รายงาน
  • Jaber ประตู 3'
จอมเทียน บีช อารีนา, พัทยา
ผู้ตัดสิน: Syahir Shaharul (มาเลเซีย)

รอบแพ้คัดออก[แก้]

สายการแข่งขัน[แก้]

 
รอบ 8 ทีมรอบรองชนะเลิศรอบชิงชนะเลิศ
 
          
 
22 มีนาคม – จอมเทียน บีช อารีนา
 
 
ธงชาติไทย ไทย2
 
25 มีนาคม – จอมเทียน บีช อารีนา
 
Flag of the United Arab Emirates สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์4
 
Flag of the United Arab Emirates สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์1
 
23 มีนาคม – จอมเทียน บีช อารีนา
 
ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น5
 
ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น8
 
26 มีนาคม – จอมเทียน บีช อารีนา
 
ธงชาติคูเวต คูเวต0
 
ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น0
 
22 มีนาคม – จอมเทียน บีช อารีนา
 
ธงชาติอิหร่าน อิหร่าน6
 
ธงชาติอิหร่าน อิหร่าน10
 
25 มีนาคม – จอมเทียน บีช อารีนา
 
ธงชาติบาห์เรน บาห์เรน0
 
ธงชาติอิหร่าน อิหร่าน6
 
23 มีนาคม – จอมเทียน บีช อารีนา
 
ธงชาติโอมาน โอมาน3 รอบชิงอันดับที่สาม
 
ธงชาติโอมาน โอมาน11
 
26 มีนาคม – จอมเทียน บีช อารีนา
 
ธงชาติจีน จีน0
 
Flag of the United Arab Emirates สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์2
 
 
ธงชาติโอมาน โอมาน4
 

รอบก่อนรองชนะเลิศ[แก้]

ไทย ธงชาติไทย2–4Flag of the United Arab Emirates สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์
รายงาน
  • Al-Blooshi ประตู 2'
  • Atus ประตู 18' (เข้าประตูตัวเอง)
  • A. Mohammadi ประตู 23'35'
จอมเทียน บีช อารีนา, พัทยา
ผู้ตัดสิน: Abdulla Saleh (บาห์เรน)

อิหร่าน ธงชาติอิหร่าน10–0ธงชาติบาห์เรน บาห์เรน
  • Mesigar ประตู 7'14'
  • Moradi ประตู 9'
  • Mirjajili ประตู 15'26'
  • Mokhtari ประตู 20'
  • Akbari ประตู 26'
  • Mirshekari ประตู 31'
  • Rezaei ประตู 32'
  • Al-Abdulla ประตู 35' (เข้าประตูตัวเอง)
รายงาน
จอมเทียน บีช อารีนา, พัทยา
ผู้ตัดสิน: สุวัฒน์ วงศ์สุวรรณ (ไทย)

ญี่ปุ่น ธงชาติญี่ปุ่น8–0ธงชาติคูเวต คูเวต
  • Akaguma ประตู 4'11'
  • Kibune ประตู 5'18'
  • Moreira ประตู 15'32'
  • Shibamoto ประตู 28'
  • Matsuo ประตู 34'
รายงาน
จอมเทียน บีช อารีนา, พัทยา
ผู้ตัดสิน: Fallah Al-Balushi (โอมาน)

โอมาน ธงชาติโอมาน11–0ธงชาติจีน จีน
  • Mu. Al Araimi ประตู 2'9'
  • Al Sauti ประตู 3'23'
  • Al Bulushi ประตู 14'34'
  • A. Al Owaisi ประตู 18'20'30'
  • Al Hindasi ประตู 29'
  • Ma. Al Araimi ประตู 32'
รายงาน
จอมเทียน บีช อารีนา, พัทยา
ผู้ตัดสิน: Makoto Sato (ญี่ปุ่น)

รอบรองชนะเลิศ[แก้]

สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ Flag of the United Arab Emirates1–5ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น
รายงาน
  • Oba ประตู 2'
  • Yamada ประตู 10'
  • Akaguma ประตู 27'32'
  • Yamauchi ประตู 35'
จอมเทียน บีช อารีนา, พัทยา
ผู้ตัดสิน: Abdulaziz Abdullah (คูเวต)

อิหร่าน ธงชาติอิหร่าน6–3ธงชาติโอมาน โอมาน
  • Mokhtari ประตู 4' (ลูกโทษ)18'
  • Moradi ประตู 7'
  • Rezaei ประตู 20'
  • Mirshekari ประตู 21'
  • Akbari ประตู 30'
รายงาน
  • Al Bulushi ประตู 4'
  • K. Al Oraimi ประตู 11'
  • Mesigar ประตู 22' (เข้าประตูตัวเอง)
จอมเทียน บีช อารีนา, พัทยา
ผู้ตัดสิน: Hassan Abed (เลบานอน)

นัดชิงอันดับที่สาม[แก้]

สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ Flag of the United Arab Emirates2–4ธงชาติโอมาน โอมาน
  • Yaqoub ประตู 1'24'
รายงาน
จอมเทียน บีช อารีนา, พัทยา
ผู้ตัดสิน: Yuichi Hatano (ญี่ปุ่น)

รอบชิงชนะเลิศ[แก้]

ญี่ปุ่น ธงชาติญี่ปุ่น0–6ธงชาติอิหร่าน อิหร่าน
รายงาน
  • Baltork ประตู 3'
  • Mirshekari ประตู 7'36'
  • Mesigar ประตู 18'
  • Mokhtari ประตู 28'
  • Uesato ประตู 34' (เข้าประตูตัวเอง)
จอมเทียน บีช อารีนา, พัทยา
ผู้ตัดสิน: Turki Al-Salehi (โอมาน)

ผู้ทำประตู[แก้]

มีการทำประตู 249 ประตู จากการแข่งขัน 32 นัด เฉลี่ย 7.78 ประตูต่อนัด


การทำประตู 11 ครั้ง

การทำประตู 9 ครั้ง

  • อิหร่าน Ali Mirshekari
  • อิหร่าน Mohammadali Mokhtari

การทำประตู 8 ครั้ง

  • โอมาน Sami Al Bulushi

การทำประตู 7 ครั้ง

การทำประตู 6 ครั้ง

  • อิหร่าน Movahed Baltork

การทำประตู 5 ครั้ง

  • อิหร่าน Mahdi Shirmohammadi
  • ญี่ปุ่น Ozu Moreira
  • โอมาน Khalid Al Oraimi
  • สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ Ali Mohammadi

การทำประตู 4 ครั้ง

  • อิหร่าน Abbas Rezaei
  • ญี่ปุ่น Takaaki Oba
  • คูเวต Majed Al-Enezi
  • โอมาน Yahya Al Muraiki
  • โอมาน Abdullah Al Sauti
  • ไทย คมกริช ณ น่าน

การทำประตู 3 ครั้ง

  • อัฟกานิสถาน Tamim Haidari
  • บาห์เรน Mohamed Yaqoob
  • จีน Liu Haoran
  • อิหร่าน Amir Akbari
  • อิหร่าน Seyedmahdi Mirjajili
  • อิหร่าน Mohammad Moradi
  • ญี่ปุ่น Yuki Kibune
  • ญี่ปุ่น Shinya Shibamoto
  • ญี่ปุ่น Takahito Yamada
  • เลบานอน Mohamad Haidar
  • เลบานอน Mohamad Merhi
  • เลบานอน Mohammad Al Saleh
  • โอมาน Mushel Al Araimi
  • โอมาน Al Yaqdhan Al Hindasi
  • โอมาน Ahmed Al Owaisi
  • ซาอุดีอาระเบีย Mohammed Al-Shammari
  • สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ Ahmed Beshr
  • สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ Rashed Yaqoub
  • อุซเบกิสถาน Jamshid Rasulov

การทำประตู 2 ครั้ง

  • บาห์เรน Rashad Jamal
  • จีน Bai Fan
  • จีน Cai Weiming
  • จีน Han Xuegeng
  • อินโดนีเซีย Junius R. Bate
  • อิหร่าน Reza Amiri
  • ญี่ปุ่น Shusei Yamauchi
  • คูเวต Mohammad Darweesh
  • คูเวต Omar Al-Rouqi
  • เลบานอน Ahmed Grada
  • มาเลเซีย Hasrol Ali
  • มาเลเซีย Norazman Bakar
  • มาเลเซีย Qushairie Asaari
  • โอมาน Mandhar Al Araimi
  • โอมาน Younis Al Owaisi
  • ซาอุดีอาระเบีย Belal Bawdah
  • ซาอุดีอาระเบีย Ahmed Al-Hamami
  • ไทย สุริยา บริเดช
  • ไทย ฐานันดร ประราชะ
  • สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ Waleed Beshr
  • สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ Abdulla Al-Blooshi
  • สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ Walid Mohammadi
  • อุซเบกิสถาน Mamasharif Khalimov
  • อุซเบกิสถาน Ilyos Mallaev

การทำประตู 1 ครั้ง

  • อัฟกานิสถาน Ramez Farooq
  • อัฟกานิสถาน Abdul Nafi Himat
  • อัฟกานิสถาน Omid Homauni
  • อัฟกานิสถาน Murtaza Jafari
  • อัฟกานิสถาน Sami Ullah Mohammadi
  • อัฟกานิสถาน Ahmad Rabani
  • บาห์เรน Ahmed Abdulrasool
  • บาห์เรน Mohamed Ashoor
  • บาห์เรน Salman Al-Yaqoobi
  • จีน Li Yueming
  • อินโดนีเซีย Dewa Dwipayudha
  • อินโดนีเซีย Nyoman Widnyana
  • อิหร่าน Javad Khosravi
  • ญี่ปุ่น Ryunosuke Ito
  • ญี่ปุ่น Naoya Matsuo
  • ญี่ปุ่น Takumi Uesato
  • คูเวต Faisal Al-Manaye
  • คูเวต Mohammad Al-Shafei
  • คีร์กีซสถาน Erzhan Dordoshev
  • คีร์กีซสถาน Almaz Dzhailoobaev
  • คีร์กีซสถาน Keldibek Mukaev
  • คีร์กีซสถาน Beksultan Omorov
  • คีร์กีซสถาน Roman Sodaliev
  • คีร์กีซสถาน Beksultan Usenbaev
  • เลบานอน Hussein Abdullah
  • เลบานอน Ahmad El Khatib
  • เลบานอน Mechleb Matar
  • เลบานอน Michlib Matar
  • มาเลเซีย Faisal Saharudin
  • มาเลเซีย Hafizam Rahman
  • มาเลเซีย Ridhwan Zainal
  • มาเลเซีย Zulhairi Ismail
  • รัฐปาเลสไตน์ Alaa Atiya
  • รัฐปาเลสไตน์ Mohammed Hassan
  • รัฐปาเลสไตน์ Fady Jaber
  • รัฐปาเลสไตน์ Mohammed Al-Qaddi
  • ซาอุดีอาระเบีย Al-Waleed Safhi
  • ซาอุดีอาระเบีย Naif Yakl
  • ซาอุดีอาระเบีย Waleed Al-Youbi
  • ไทย นที จีปน
  • ไทย รัฐพงษ์ นาดี
  • ไทย วัชระ เลไพจิตร
  • อุซเบกิสถาน Farhod Kodirov

การทำเข้าประตูตัวเอง 1 ครั้ง

  • บาห์เรน Abdulla Al-Abdulla (ในนัดที่พบกับ อิหร่าน)
  • อินโดนีเซีย Junius R. Bate (ในนัดที่พบกับ เลบานอน)
  • อินโดนีเซีย Agus Dwipayana (ในนัดที่พบกับ ญี่ปุ่น)
  • อิหร่าน Moslem Mesigar (ในนัดที่พบกับ โอมาน)
  • ญี่ปุ่น Takumi Uesato (ในนัดที่พบกับ อิหร่าน)
  • ไทย เฉลิมชัย แซ่ลิ้ม (ในนัดที่พบกับ อัฟกานิสถาน)
  • ไทย เอธัส ทองดี (ในนัดที่พบกับ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์)

แหล่งที่มา : เอเอฟซี

ทีมที่ผ่านเข้ารอบสำหรับฟุตบอลชายหาดชิงแชมป์โลก[แก้]

ด้านล่างนี้คือทีมที่ผ่านเข้ารอบสำหรับชิงแชมป์โลก.[2][3][4]

ทีม วันที่ผ่านเข้ารอบ ครั้งที่ผ่านมา การลงสนาม ใน ฟุตบอลชายหาดชิงแชมป์โลก
ยุคฟีฟ่าเท่านั้น (นับตั้งแต่ปี ค.ศ. 2005)
Flag of the United Arab Emirates สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ 16 ธันวาคม 2022 7 (2007, 2008, 2009, 2013, 2017, 2019, 2021)
ธงชาติอิหร่าน อิหร่าน 22 มีนาคม 2023 7 (2006, 2007, 2008, 2011, 2013, 2015, 2017)
ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น 23 มีนาคม 2023 11 (2005, 2006, 2007, 2008, 2009, 2011, 2013, 2015, 2017, 2019, 2021)
ธงชาติโอมาน โอมาน 23 มีนาคม 2023 4 (2011, 2015, 2019, 2021)
ตัวหนา หมายถึงทีมแชมป์สำหรับปีนั้น.
•• ตัวเอียง หมายถึงเจ้าภาพสำหรับปีนั้น.

อ้างอิง[แก้]

  1. "AFC rebrands age group championships to AFC Asian Cups". AFC. 2 ตุลาคม 2020.
  2. "Exceptional Iran secure Emirati adventure". FIFA. สืบค้นเมื่อ 27 มีนาคม 2023.
  3. "Oman goal spree secures Asia's last place at UAE 2023". FIFA. สืบค้นเมื่อ 27 มีนาคม 2023.
  4. "Japan clinch UAE 2023 qualification". FIFA. สืบค้นเมื่อ 27 มีนาคม 2023.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]