ข้ามไปเนื้อหา

ผู้ใช้:Taweetham/ทดลองเขียน

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

ความคาดหมายของการแสดงผลหน้าหลัก

[แก้]

บทความหรือข้อความที่นำขึ้นหน้าหลักของวิกิพีเดียภาษาไทยควรสะท้อนคุณค่าของวิกิพีเดียภาษาไทยและเสริมสร้างชุมชนอาสาสมัคร (editing community, WMTH และ WMF) โดยมีแนวทางจากวิกิพีเดียภาษาอังกฤษ ภาษาอื่น หรือ โครงการพี่น้อง เป็นแนวทาง

ด้านกระบวนการ มีกรอบเวลาชัดเจน เป็นธรรม และยั่งยืน
  1. กระบวนการตัดสินใจนำเนื้อหาขึ้นหน้าหลักมีความชัดเจนทั้งเชิงเวลาและเนื้อหา หลักเกณฑ์เป็นประชาธิปไตย ให้โอกาสมีส่วนร่วม (inclusive) ไม่ทอดทิ้งใครไว้ข้างหลัง
  2. การบวนการทำงานมีความยั่งยืน ไม่ยึดติดกับตัวบุคคลอาสาสมัคร ไม่ใช้เวลาอาสาสมัครมากเกินไปโดยไม่คุ้มค่า ใช้ automation เข้ามาทดแทนคนให้มากที่สุด
  3. periodic review ไม่ยึดติดกับความสำเร็จหรือความล้มเหลวในอดีต แต่นำอดีตมาใช้ปรับปรุงแผนงานเพื่อกิจกรรมในหนึ่งปีข้างหน้าอย่างสม่ำเสมอ
ด้านเนื้อหา มีความสมดุลระหว่างส่วนที่ตามความสนใจของผู้เขียนกับตามความสนใจของผู้อ่าน
  1. ส่วนตามความสนใจของผู้เขียนใช้เกณฑ์คุณภาพปกติที่มีอยู่แล้วเป็นหลัก (บทความคัดสรร บทความคุณภาพ บทความดี บทความพอใช้ บทความโครง และบทความใหม่) ซึ่งอาจเลือกมาแสดงผลให้เหมาะแก่โอกาสเป็นการประสานประโยชน์เข้ากับความสนใจของผู้อ่าน
  2. ส่วนตามความสนใจของผู้อ่านใช้เรื่องจากเหตุการณ์ปัจจุบันหรือข่าวในความสนใจของประชาชน และวันครบรอบเหตุการณ์ในอดีต (ตามปฏิทินสุริยคติ) เป็นหลัก (ยังขาดกลไกที่ดึงดูดอาสาสมัครให้ช่วยพัฒนาบทความที่ผู้อ่านต้องการได้อย่างชัดเจน / บางเหตุการณ์อาจไม่อยู่ในวันครบรอบเหตุการณ์เพราะเป็นช่วงเวลาที่ไม่มีวันเริ่มต้นสื้นสุดชัดเจน หรือนับวันตามปฏิทินอื่น)
  3. ส่วนประกาศเชิญชวนหรือประชาสัมพันธ์ที่สำคัญ - แทนที่จะลิงก์ไปยังหน้าที่เลิกใช้ไปแล้วอย่างวิกิพีเดีย:ปุจฉา-วิสัชนา อาจจะมีรายการผู้ใช้ใหม่หรือหน้าใหม่ นอกเหนือไปจากหน้าประกาศทั่วไป เป็นแนวคิดที่เอา มีเดียวิกิ:Recentchangestext กลับคืนมาดึงความสนใจของชุมชน
ด้านเทคนิค มีความสวยงามและสามารถทำ archive เพื่ออ้างอิงได้ภายหลัง
  1. เมื่อจัดแบ่งเป็นสองคอลัมน์ ความยาวด้านซ้ายและขวาควรไม่แตกแต่างกันมากนัก
  2. มีความถี่ในการปรับปรุงที่ค่อนข้างชัดเจนเพื่ประโยชน์ในการ archive จากเว็บภายนอกที่ครบถ้วน (แม้ว่าวิกิพีเดียจะมีระบบประวัติดอยู่แล้วแต่หน้าที่ซับซ้อนอย่างหน้าหลักใช้องค์ประกอบย่อยจำนวนมากมารวมกัน การดูประวัติต้องดูทีละหน้าเป็นองค์ประกอบไปทีละส่วนแยกกกัน)
  3. รหัสต้นฉบับอยู่ในสภาพที่เรียบร้อย ขนาดกระทัดรัด อ่านเข้าใจได้และพร้อมจะให้ชุมชนปรับปรุงได้ มีการควบคุมการเข้าถึงสิทธิ์แก้ไขที่เหมาะสม มีความปลอดภัย ปราศจากช่องโหว่ในการโจมตี

ตัวอย่างรหัสต้นฉบับ

[แก้]

ล้างเซิร์ฟเวอร์แคช


22 กันยายน: วันเอกราชในบัลแกเรีย (พ.ศ. 2451) และมาลี (พ.ศ. 2503)

ดูเพิ่ม: 21 กันยายน22 กันยายน23 กันยายน

แนวคิดการตัดทอนข้อความเพื่อให้ได้ความยาวที่เหมาะสม

[แก้]

en:Template:String-handling templates


  1. 22 กันยายน: วันเอกราชในบัลแกเรีย (พ.ศ. 2451) และมาลี (พ.ศ. 2503)
  1. พ.ศ. 1447 (ค.ศ. 904) – ขุนศึกจูเฉวียนจงปลงพระชนม์จักรพรรดิถังเจาจง จักรพรรดิจีนราชวงศ์ถังพระองค์สุดท้าย หลังเข้าควบคุมรัฐบาลจักรวรรดิ
  2. พ.ศ. 2319 (ค.ศ. 1776) – การปฏิวัติฝรั่งเศส: สาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 1 ถือกำเนิดขึ้น หนึ่งวันให้หลังสมัชชาแห่งชาติลงมติยกเลิกราชาธิปไตย
  3. พ.ศ. 2405 (ค.ศ. 1862) – อับราฮัม ลินคอล์น (ในภาพ) ประธานาธิบดีสหรัฐ ออกคำประกาศเลิกทาส ให้อิสระแก่ทาสทุกคนในดินแดนสมาพันธรัฐอเมริกาทั้งหมด มีผลตั้งแต่ 1 มกราคม 2406
  4. พ.ศ. 2503 (ค.ศ. 1961) – รัฐสภาสหรัฐอนุมัติคำสั่งของฝ่ายบริหารของประธานาธิบดีจอห์น เอฟ. เคนเนดี เพื่อจัดตั้งเหล่าสันติภาพ
  5. พ.ศ. 2523 (ค.ศ. 1980) – กองทัพอากาศอิรักโจมตีฉับพลันต่อสนามบินอิหร่านสิบแห่ง อันเป็นจุดเริ่มต้นสงครามอิรัก–อิหร่าน

ดูเพิ่ม: 21 กันยายน22 กันยายน23 กันยายน

  1. พ.ศ. 2523 (ค.ศ. 1980) – กองทัพอากาศอิรักโจมตีฉับพลันต่อสนามบินอิหร่านสิบแห่ง อันเป็นจุดเริ่มต้นสงครามอิรัก–อิหร่าน

ดูเพิ่ม: 21 กันยายน22 กันยายน23 กันยายน


  1. 64
  2. 133
  3. 131

  1. 22 กันยายน: วันเอกราชในบัลแกเรีย (พ.ศ. 2451) และมาลี (พ.ศ. 2503)
  2. พ.ศ. 1447 (ค.ศ. 904) – ขุนศึกจูเฉวียนจงปลงพระชนม์จักรพรรดิถังเจาจง จักรพรรดิจีนราชวงศ์ถังพระองค์สุดท้าย หลังเข้าควบคุมรัฐบาลจักรวรรดิ
  3. พ.ศ. 2319 (ค.ศ. 1776) – การปฏิวัติฝรั่งเศส: สาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 1 ถือกำเนิดขึ้น หนึ่งวันให้หลังสมัชชาแห่งชาติลงมติยกเลิกราชาธิปไตย


แนวคิดการสุ่มข้อความขึ้นมาแสดงผล

[แก้]

ตัวอย่างที่ใช้ได้ผลแล้วคือ วิกิพีเดีย:บทความที่ต้องการ ในส่วน {{ปรับปรุงล่าสุด/บทความที่ต้องการ}} ซึ่งเรียกใช้ Module:Requested articles (ผลงานในวิกิพีเดียภาษาไทยโดยคุณ Nullzero ไม่มีคู่เทียบในภาษาอังกฤษใช้งานมาได้ 10 ปีถือว่าค่อนข้างคุ้มค่า) ผ่าน มีเดียวิกิ:Recentchangestext

หาไม่เขียนมอดูลใหม่เองให้ต้องดูที่ m:Module:Random (รหัสต้นฉบับเหมือน มอดูล:Random ทุกประการ เพียงแต่เปลี่ยนข้อความเป็นภาษาไทยแล้ว)

มีนาคม 2566

โอลกา คอนสแตนตินอฟนาแห่งรัสเซีย สมเด็จพระราชินีแห่งกรีซ
โอลกา คอนสแตนตินอฟนาแห่งรัสเซีย สมเด็จพระราชินีแห่งกรีซ

โอลกา คอนสแตนตินอฟนาแห่งรัสเซีย สมเด็จพระราชินีแห่งกรีซ เป็นพระมเหสีในพระเจ้าจอร์จที่ 1 แห่งกรีซ และทรงเป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์แห่งกรีซเป็นช่วงเวลาสั้น ๆ ในปี ค.ศ. 1920 เจ้าชายฟิลิป ดยุกแห่งเอดินบะระเป็นพระราชนัดดาของพระองค์

แกรนด์ดัชเชสโอลกาทรงเป็นสมาชิกพระราชวงศ์โรมานอฟ พระองค์เป็นพระธิดาในแกรนด์ดยุกคอนสแตนติน นีโคลาเยวิชกับเจ้าหญิงอเล็กซานดราแห่งซัคเซิน-อัลเทนบูร์ก พระองค์ใช้พระชนม์ชีพวัยเยาว์ในเซนต์ปีเตอส์เบิร์ก โปแลนด์ และคาบสมุทรไครเมีย พระนางอภิเษกสมรสกับพระเจ้าจอร์จที่ 1 แห่งกรีซในปี ค.ศ. 1867 ขณะมีพระชนมายุ 16 พรรษา ในตอนแรก พระองค์ทรงรู้สึกไม่สบายพระทัยเมื่อได้มาประทับที่ราชอาณาจักรกรีซ แต่พระองค์ทรงเข้ามามีส่วนร่วมอย่างรวดเร็วในงานสังคมและการกุศล สมเด็จพระราชินีโอลกาทรงก่อตั้งโรงพยาบาลและศูนย์ช่วยเหลือ แต่ความพยายามของพระองค์ในการสนับสนุนให้เกิดการเข้าถึงที่มากขึ้นในการแปลพระวรสารเป็นภาษากรีก ซึ่งกระตุ้นให้เกิดการจลาจลโดยฝ่ายอนุรักษ์นิยมทางศาสนา (อ่านต่อ...)

บทความคัดสรรก่อนหน้านี้: ดาวเคราะห์นอกระบบเคที เพร์รีพันธุศาสตร์

(ทั้งนี้ ปัจจุบันยังไม่ได้มีการเปิดใช้งาน mw:Extension:RandomSelection ไว้เลย แต่คิดว่าไม่จำเป็นต้องใช้คำสั่ง choose จาก extension ดังกล่าวแต่อย่างใด)

สุ่มและตัด

[แก้]

ตัดเหลือ 2000 อักขระ ต้องระวังว่าไม่ได้ตัด plain text แต่อาจตัดเข้าไประหว่างกล่าง syntax ของลิงก์ แม่แบบหรือตาราง ฯลฯ

ปรีดี พนมยงค์ พ.ศ. 2490
ปรีดี พนมยงค์ พ.ศ. 2490

ศาสตราจารย์ ดร.ปรีดี พนมยงค์ หรือ อำมาตย์ตรีหลวงประดิษฐ์มนูธรรม (11 พฤษภาคม พ.ศ. 2443 – 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2526) เป็นผู้นำคณะราษฎรสายพลเรือน ผู้ก่อการเปลี่ยนแปลงการปกครองของสยามจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ มาเป็นระบอบประชาธิปไตย เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 และเป็นผู้ให้กำเนิด[[พระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว พุทธศักราช 2475|รัฐธรรมนูญฉบับแร... อ่านต่อที่ แม่แบบ:บทความคัดสรร/กุมภาพันธ์ 2556