ผู้ใช้:Smile Muchalin
หน้าตา
Smile Muchalin | |
วันเกิด | 29 มิถุนายน พ.ศ. 2543 |
---|---|
อาชีพ | นักเรียน/นักศึกษา |
เพศ | หญิง |
สรรพนาม | เรา/คุณ/เขา |
สถานที่อยู่ | บนโลก |
เริ่มเขียน | 25 เมษายน พ.ศ 2559 |
สิ่งที่สนใจ | บังทันบอยส์, ดนตรีเคป็อป, ภาษาอังกฤษ, ภาษาญี่ปุ่น, ภาษาเกาหลี, เกาหลีใต้, ญี่ปุ่น, HTML, เดอะซิมส์, Gekken Shojo Nosaki - Kun, นิยาย, อนิเมะ, มังงะ, Adobe, ฮะอุรุ โนะ ยุโงะกุชิโระ |
ความตั้งใจ | แปลบทความภาษาอังกฤษที่เกี่ยวกับวง Bangtan Sonyeondan ลงในวิกิไทย, แปลบทความที่น่าสนใจในภาษาอื่นๆลงวิกิไทย, คอยปรับปรุงแก้ไขเพิ่มเติมเกี่ยวกับบทความของวง Bangtan Sonyeondan, สร้างหรือปรับปรุงแก้ไขบทความเกี่ยวกับวงบอยแบนด์สัญชาติเกาหลีใต้และการ์ตูนญี่ปุ่นให้มากและมีคุณภาพยิ่งขึ้น, แปลบทความภาษาอังกฤษเกี่ยวกับอนิเมะ มังงะให้มากขึ้น |
ติดวิกิพีเดีย | เกือบๆระยะสุดท้าย แต่เราไม่นิยมเก็บดาวแล้วก็พยายามเป็นผู้ดูแลระบบแค่นั้นเอง |
ระดับทักษะ | พื้นฐาน |
คุยกับเราได้นะเราไม่กัด 5555 ถามอะไรเราก็จะตอบให้ (ถ้าเรารู้นะ) ปรึกษาเราได้ทุกเรื่อง คุยเล่นก็ได้ (แต่อันนี้น่าจะหลังไมค์เอาเฟสเราไปเลยดีกว่า 5555) แต่เรื่องเงิน มุจลินท์ขอบาย ลาขาดค่ะเราไม่รู้จักกัน แค่บัตรคอนมุจลินท์ยังเอาตัวไม่รอดเลยค่ะ อย่าหวังพึ่งเรื่องเงินมุจลินท์เลย
—
- ) Smile Muchalin
อื่นๆ
[แก้]วิกิพีเดีย:บาเบล | |||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
| |||||||||
ผู้ใช้ตามภาษา |
|
ส่วนร่วมในวิกิพีเดีย
|
คู่มือการเขียน (MoS) |
---|
สารบัญ |
บทความที่กำลังเขียน
[แก้]ปี | ชื่อบทความที่กำลังทำ | ความคืบหน้า (ช่องบ่นๆๆๆๆ) | เปอร์เซ็นที่แล้วเสร็จ | หมายเหตุ |
---|---|---|---|---|
2016 | แอสโตร (ASTRO) | เหลือแปลส่วนประวัติก่อนเปิดตัว ฮรือมีแต่ศัพท์ยากๆมึน | 90% | เขียนแล้ว |
เดย์ซิกส์ (Day6) | กำลังแปลบทความเพิ่มเติมจากบทความเก่า อันนี้ก็เยอะแยะจริงอะไรจริง | 30% | ||
เรื่องวุ่นวายของนายเงือกกับผองเพื่อนพันธุ์ทะเล | แปลยากกว่า 2 บทความด้านบนอีก นี่จะ S.O.S พร้อมเทแล้วน้าาา | 1% | en:Orenchi no Furo Jijō ลิ้งอังกฤษค่ะเผื่อใครอยากอ่าน (ใคร?) | |
เดอะโมสบิวทิฟูลโมเมนต์อินไลฟ์ : ยังฟอร์เอฟเวอะ (The Most Beautiful Moment In Life : Young Forever) | ข้ามนายเงือกมาทำก่อนค่ะ คิดว่าคืบหน้านิดนึง | 10% | ||
อิมแพค (วงดนตรี) (IMFACT) | แปลเสร็จแล้วค่ะ ข้ามทุกอย่างเลยฮรือ...แต่ไม่แน่ใจเรื่องทับศัพท์เลย คือชื่อศิลปินแปลกๆอะ บอกเลย ใครรู้ก็ช่วยแก้หน่อยละกัน ขอบคุณล่วงหน้าค่าา | 98% | กำลังเขียน/เนื่องจากต้องอัพเดตตลอดเลยไม่เต็มร้อยเปอร์จ๊ะ |
บทความที่คิดจะเขียน/แปล/ปรับปรุงแก้ไข
[แก้]บทความที่สมบูรณ์แล้ว
[แก้]เรียกว่าสมบูรณ์สุดๆคงไม่ได้เพราะมันก็ต้องเพิ่มอัพเดตตลอดแต่ก็ถือว่าเสร็จไปส่วนหนึ่งละกัน ฮรือ...มุจลินท์ผู้ปล่อยวาง
บทความที่สนใจ
[แก้]- ประเทศญี่ปุ่น
- บังทันบอยส์
- โตเกียว
- สถานีโตเกียว
- ภาษาญี่ปุ่น
- ฮะอุรุ โนะ ยุโงะกุชิโระ
- ปราสาทเวทมนตร์ของฮาวล์
แหล่งทดลองบทความของมุจลินท์
[แก้]บุคคลที่เกิดวันเดียวกัน
[แก้]- พ.ศ. 2424 (ค.ศ. 1881) - สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต (สิ้นพระชนม์ 18 มกราคม พ.ศ. 2487)
- พ.ศ. 2443 (ค.ศ. 1900) - อ็องตวน เดอ แซ็งแตกซูว์เปรี นักบินและนักเขียนชาวฝรั่งเศส (ถึงแก่กรรม 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2487)
- พ.ศ. 2490 (ค.ศ. 1947) - เดวิด เจียง นักแสดงชาวฮ่องกง
- พ.ศ. 2454 (ค.ศ. 1911) - เบอร์นาร์ด เฮอร์มานน์ นักแต่งเพลงชาวอเมริกัน (ถึงแก่กรรม 24 ธันวาคม พ.ศ. 2518)
- พ.ศ. 2517 (ค.ศ. 1974) - ฝน ธนสุนทร นักร้องชาวไทย
- พ.ศ. 2525 (ค.ศ. 1982) - เนตร ศศิประภายิม นักมวยชาวไทย
- พ.ศ. 2527 (ค.ศ. 1984) - ณัฐพงษ์ สมณะ นักฟุตบอลชาวไทย
- พ.ศ. 2534 (ค.ศ. 1991) - เปี่ยมปิติ หัตถกิจโกศล นักร้องชาวไทย
- พ.ศ. 2537 (ค.ศ. 1994) - ชิน ดงโฮ นักร้องบอยแบนชาวเกาหลี
ตารางเทียบเสียงเกาหลี
[แก้]ระบบการถอดอักษรเกาหลีเป็นอักษรโรมันฉบับปรับปรุง
[แก้]เสียงพยัญชนะ
[แก้]อักษรโรมัน | อักษรเกาหลี | ตำแหน่ง | ||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ต้นพยางค์แรก | ต้นพยางค์อื่น | ท้ายพยางค์ | ||||||||
ใช้ | ตัวอย่าง | คำทับศัพท์ | ใช้ | ตัวอย่าง | คำทับศัพท์ | ใช้ | ตัวอย่าง | คำทับศัพท์ | ||
b / b / p | ㅂ บีอึบ | พ | baji | พาจี (กางเกง) |
บ | haengbok | แฮ็งบก (ความสุข) |
บ | bap | พับ (ข้าว) |
ch / ch / t | ㅊ ชีอึด | ช | cheonji | ช็อนจี (จักรวาล) |
ช | Chungcheong | ชุงช็อง (ชื่อจังหวัด) |
ด | kkot | กด (ดอกไม้) |
d / d / t | ㄷ ทีกึด | ท | Daegu | แทกู (ชื่อเมือง) |
ด | daedap | แทดับ (ตอบ) |
ด | natgari | นัดการี (กองฟาง) |
g / g / k | ㄱ คีย็อก | ค | Gangwon | คังว็อน (ชื่อจังหวัด) |
ก | Hanguk | ฮันกุก (ประเทศเกาหลี) |
ก | goguk | โคกุก (บ้านเกิดเมืองนอน) |
h / h / – | ㅎ ฮีอึด | ฮ | hobak | โฮบัก (ฟักทอง) |
ฮ | gonghang | คงฮัง (สนามบิน) |
|||
j / j / t | ㅈ จีอึด | ช | jido | ชีโด (แผนที่) |
จ | jujeonja | ชูจ็อนจา (กาน้ำ) |
ด | bit | พิด (หนี้, หนี้สิน) |
jj / jj / – | ㅉ ซังจีอึด | จ | jjari | จารี (มูลค่า) |
จ | gajja | คาจา (ของปลอม) |
|||
k / k / k | ㅋ คีอึก | ค | kal | คัล (มีด) |
ค | mankeum | มันคึม (เท่ากับ) |
ก | bueok | พูอ็อก (ห้องครัว) |
– / kh / – | ㄱㅎ คีย็อกฮีอึด | ค | chukha | ชูคา (ขอแสดงความยินดี) |
||||||
kk / kk / k | ㄲ ซังกีย็อก | ก | kkangtong | กังทง (กระป๋อง) |
ก | eokkae | ออแก (ไหล่) |
ก | bak | พัก (ข้างนอก) |
m / m / m | ㅁ มีอึม | ม | maeum | มาอึม (จิตใจ) |
ม | nonmun | นนมุน (วิทยานิพนธ์) |
ม | gim | คิม (สาหร่ายทะเล) |
n / n / n | ㄴ นีอึน | น | na | นา (ฉัน) |
น | nuna | นูนา (คำที่ผู้ชายใช้เรียกพี่สาว) |
น | Namdaemun | นัมแดมุน (ชื่อตลาด) |
– / n / – (เมื่อตาม หลังเสียง m, n, ŋ) |
ㄹ รีอึล | น | Gangneung | คังนึง (ชื่อเมือง) |
||||||
– / – / ng | ㅇ อีอึง | ง | madang | มาดัง (ลาน, สวน) | ||||||
p / p / p | ㅍ พีอึบ | พ | pal | พัล (จำนวนแปด) |
พ | apeuda | อาพือดา (เจ็บ, ปวด) |
บ | yeopsaram | ย็อบซารัม (คนข้าง ๆ) |
– / ph / – | ㅂㅎ บีอึบฮีอึด | พ | iphak | อีพัก (การสอบเข้า) |
||||||
pp / pp / – | ㅃ ซังบีอึบ | ป | ppallae | ปัลแล (ซักผ้า) |
ป | ippal | อีปัล (ฟัน) |
|||
r / r, l / l | ㄹ รีอึล | ร | ramyeon | รามย็อน (บะหมี่กึ่งสำเร็จรูป) |
ร | haru | ฮารู (วัน) |
ล | mal | มัล (ม้า) |
ล | Jeolla | ช็อลลา (ชื่อจังหวัด) | ||||||||
s / s / t | ㅅ ชีอด | ซ | sada | ซาดา (ซื้อ) |
ซ | saengsan | แซ็งซัน (การผลิต) |
ด | sutso | ซุดโซ (วัวตัวผู้) |
s / s / – (เมื่อตาม ด้วยเสียงสระอีหรือ สระประสมวี) |
ㅅ ชีอด | ช | sijang | ชีจัง (ตลาด) |
ช | dosi | โทชี (เมือง) |
|||
ss / ss / t | ㅆ ซังชีอด | ซ | ssal | ซัล (ข้าวสาร) |
ซ | bulssuk | พุลซุก (กะทันหัน) |
ด | ssaetta | แซ็ดตา (เหลือเฟือ) |
t / t / t | ㅌ ทีอึด | ท | Taebaek | แทแบ็ก (ชื่อภูเขา) |
ท | gita | คีทา (อื่น ๆ) |
ด | Hanbat | ฮันบัด (ชื่อมหาวิทยาลัย) |
– / th / – | ㄷㅎ ทีกึดฮีอึด | ท | mathyeong | มาทย็อง (พี่ชายคนโต) |
||||||
tt / tt / – | ㄸ ซังทีกึด | ต | ttukkeong | ตูก็อง (ฝา) |
ต | heoritti | ฮอรีตี (เข็มขัด) |
เสียงสระ
[แก้]สระเดี่ยว
[แก้]อักษรโรมัน | อักษรเกาหลี | เงื่อนไข | ใช้ | ตัวอย่าง | |||
---|---|---|---|---|---|---|---|
คำ | คำทับศัพท์ | ความหมาย | |||||
a | ㅏ | เมื่อเป็นพยางค์เปิด[# 1] | ไม่มีพยัญชนะต้น | อา | ai | อาอี | เด็ก |
มีพยัญชนะต้น | –า | nara | นารา | ประเทศ | |||
เมื่อเป็นพยางค์ปิด[# 2] | ไม่มีพยัญชนะต้น | อั– | ap | อับ | ข้างหน้า | ||
มีพยัญชนะต้น | –ั | bap | พับ | ข้าว | |||
ae | ㅐ | เมื่อเป็นพยางค์เปิด | ไม่มีพยัญชนะต้น | แอ | aein | แออิน | คู่รัก |
มีพยัญชนะต้น | แ– | gae | แค | สุนัข | |||
เมื่อเป็นพยางค์ปิด | ไม่มีพยัญชนะต้น | แอ็– | aengmusae | แอ็งมูแซ | นกแก้ว | ||
มีพยัญชนะต้น | แ–็ | naemsae | แน็มแซ | กลิ่น | |||
e | ㅔ | เมื่อเป็นพยางค์เปิด | ไม่มีพยัญชนะต้น | เอ | e | เอ | ที่ (คำชี้สถานที่) |
มีพยัญชนะต้น | เ– | nemo | เนโม | สี่เหลี่ยม | |||
เมื่อเป็นพยางค์ปิด | ไม่มีพยัญชนะต้น | เอ็– | enganhada | เอ็นกันฮาดา | พอประมาณ | ||
มีพยัญชนะต้น | เ–็ | sem | เซ็ม | การคำนวณ | |||
eo | ㅓ | เมื่อเป็นพยางค์เปิด | ไม่มีพยัญชนะต้น | ออ | eomeoni | ออมอนี | แม่ |
มีพยัญชนะต้น | –อ | seoda | ซอดา | ยืน | |||
เมื่อเป็นพยางค์ปิด | ไม่มีพยัญชนะต้น | อ็อ– | eonni | อ็อนนี | คำที่ผู้หญิงใช้เรียกพี่สาว | ||
มีพยัญชนะต้น | –็อ | deoreopta | ทอร็อบทา | สกปรก | |||
eu | ㅡ | เมื่อเป็นพยางค์เปิด | ไม่มีพยัญชนะต้น | อือ | euro | อือโร | ด้วย, โดย, ไปทาง |
มีพยัญชนะต้น | –ือ | seuseuro | ซือซือโร | ด้วยตนเอง | |||
เมื่อเป็นพยางค์ปิด | ไม่มีพยัญชนะต้น | อึ– | maeum | มาอึม | จิตใจ | ||
มีพยัญชนะต้น | –ึ | ireum | อีรึม | ชื่อ | |||
i | ㅣ | เมื่อเป็นพยางค์เปิด | ไม่มีพยัญชนะต้น | อี | ima | อีมา | หน้าผาก |
มีพยัญชนะต้น | –ี | si | ชี | โมง | |||
เมื่อเป็นพยางค์ปิด | ไม่มีพยัญชนะต้น | อิ– | Yongin | ยงอิน | ชื่อเมือง | ||
มีพยัญชนะต้น | –ิ | sil | ชิล | ด้าย | |||
o | ㅗ | เมื่อเป็นพยางค์เปิด | ไม่มีพยัญชนะต้น | โอ | o | โอ | จำนวนห้า |
มีพยัญชนะต้น | โ– | podo | โพโด | องุ่น | |||
เมื่อเป็นพยางค์ปิด | ไม่มีพยัญชนะต้น | อ– | ot | อด | เสื้อผ้า | ||
มีพยัญชนะต้น | โ–ะ (ลดรูป) | don | ทน | เงินตรา | |||
u | ㅜ | เมื่อเป็นพยางค์เปิด | ไม่มีพยัญชนะต้น | อู | ugi | อูกี | ฤดูฝน |
มีพยัญชนะต้น | –ู | dubu | ทูบู | เต้าหู้ | |||
เมื่อเป็นพยางค์ปิด | ไม่มีพยัญชนะต้น | อุ– | undong | อุนดง | การออกกำลังกาย | ||
มีพยัญชนะต้น | –ุ | sul | ซุล | เหล้า |
- หมายเหตุ
สระประสมสองส่วน
[แก้]อักษรโรมัน | อักษรเกาหลี | เงื่อนไข | ใช้ | ตัวอย่าง | |||
---|---|---|---|---|---|---|---|
คำ | คำทับศัพท์ | ความหมาย | |||||
oe | ㅚ | เมื่อเป็นพยางค์เปิด | ไม่มีพยัญชนะต้น | เว | oeguk | เวกุก | ต่างประเทศ |
มีพยัญชนะต้น | –เว | goeroum | คเวโรอุม | ความทุกข์ | |||
เมื่อเป็นพยางค์ปิด | ไม่มีพยัญชนะต้น | เว็– | oenson | เว็นซน | มือซ้าย | ||
มีพยัญชนะต้น | –เว็– | hoengdan | ฮเว็งดัน | การข้าม | |||
ui | ㅢ | เมื่อไม่มีพยัญชนะต้น | เป็นพยางค์แรก | อึย | uisa | อึยซา | หมอ |
ไม่ใช่พยางค์แรก | อี, อึย | Yeouido | ยออีโด, ยออึยโด | ชื่อสถานที่ | |||
เมื่อมีพยัญชนะต้น | –ี | huin saek | ฮีนแซ็ก | สีขาว | |||
wa | ㅘ | เมื่อเป็นพยางค์เปิด | ไม่มีพยัญชนะต้น | วา | wa | วา | มา |
มีพยัญชนะต้น | –วา | gwaja | ควาจา | ขนม | |||
เมื่อเป็นพยางค์ปิด | ไม่มีพยัญชนะต้น | วั– | wang | วัง | กษัตริย์ | ||
มีพยัญชนะต้น | –วั– | Gwangju | ควังจู | ชื่อเมือง | |||
wae | ㅙ | เมื่อเป็นพยางค์เปิด | ไม่มีพยัญชนะต้น | แว | wae | แว | ทำไม |
มีพยัญชนะต้น | –แว | dwaeji | ทแวจี | หมู | |||
เมื่อเป็นพยางค์ปิด | ไม่มีพยัญชนะต้น | แว็– | waengwaeng | แว็งแว็ง | เสียงดังหึ่ง ๆ อย่างผึ้งบิน | ||
มีพยัญชนะต้น | –แว็– | kkwaengnamu | กแว็งนามู | ชื่อต้นไม้ | |||
we | ㅞ | เมื่อเป็นพยางค์เปิด | ไม่มีพยัญชนะต้น | เว | weiteo | เวอีทอ | พนักงานเสิร์ฟ |
มีพยัญชนะต้น | –เว | gwebeom | คเวบ็อม | ตัวอย่าง, แบบอย่าง | |||
เมื่อเป็นพยางค์ปิด | ไม่มีพยัญชนะต้น | เว็– | wennil | เว็นนิล | อะไร, เพราะอะไร | ||
wi | ㅟ | เมื่อเป็นพยางค์เปิด | ไม่มีพยัญชนะต้น | วี | wi | วี | ข้างบน |
มีพยัญชนะต้น | –วี | gwi | ควี | หู | |||
เมื่อเป็นพยางค์ปิด | ไม่มีพยัญชนะต้น | วิ– | witsaram | วิดซารัม | ผู้ใหญ่ | ||
มีพยัญชนะต้น | –วิ– | swin | ชวิน | จำนวนห้าสิบ | |||
wo | ㅝ | เมื่อเป็นพยางค์เปิด | ไม่มีพยัญชนะต้น | วอ | areumdawo! | อารึมดาวอ | สวยจังเลย! |
มีพยัญชนะต้น | –วอ | jwo | ชวอ | ขอ | |||
เมื่อเป็นพยางค์ปิด | ไม่มีพยัญชนะต้น | ว็อ– | wollae | ว็อลแล | ดั้งเดิม | ||
มีพยัญชนะต้น | –ว็อ– | yeogwon | ยอกว็อน | หนังสือเดินทาง | |||
ya | ㅑ | เมื่อเป็นพยางค์เปิด | ไม่มีพยัญชนะต้น | ยา | yagu | ยากู | กีฬาเบสบอล |
มีพยัญชนะต้น | –ยา | chyawo | ชยาวอ | การอาบน้ำ | |||
เมื่อเป็นพยางค์ปิด | ไม่มีพยัญชนะต้น | ยั– | yak | ยัก | ยา | ||
มีพยัญชนะต้น | –ยั– | dalgyal | ทัลกยัล | ไข่ไก่ | |||
yae | ㅒ | เมื่อเป็นพยางค์เปิด | ไม่มีพยัญชนะต้น | แย | yaegi | แยกี | เรื่องราว |
มีพยัญชนะต้น | –แย | gyae | คแย | เด็กคนนั้น | |||
ye | ㅖ | เมื่อเป็นพยางค์เปิด | ไม่มีพยัญชนะต้น | เย | yejeol | เยจ็อล | มารยาท |
มีพยัญชนะต้น | –เย | sigye | ชีกเย | นาฬิกา | |||
เมื่อเป็นพยางค์ปิด | ไม่มีพยัญชนะต้น | เย็– | yennal | เย็นนัล | สมัยก่อน | ||
มีพยัญชนะต้น | –เย็– | gyetnal | คเย็ดนัล | วันส่งแชร์ | |||
yeo | ㅕ | เมื่อเป็นพยางค์เปิด | ไม่มีพยัญชนะต้น | ยอ | yeohaeng | ยอแฮ็ง | การท่องเที่ยว |
มีพยัญชนะต้น | –ยอ | byeo | พยอ | รวงข้าว | |||
เมื่อเป็นพยางค์ปิด | ไม่มีพยัญชนะต้น | ย็อ– | yeonmal | ย็อนมัล | ปลายปี | ||
มีพยัญชนะต้น | –ย็อ– | ramyeon | รามย็อน | บะหมี่กึ่งสำเร็จรูป | |||
yo | ㅛ | เมื่อเป็นพยางค์เปิด | ไม่มีพยัญชนะต้น | โย | yori | โยรี | อาหาร, การทำอาหาร |
มีพยัญชนะต้น | –โย | hakgyo | ฮักกโย | โรงเรียน | |||
เมื่อเป็นพยางค์ปิด | ไม่มีพยัญชนะต้น | ย– | yong | ยง | มังกร | ||
มีพยัญชนะต้น | –ย– | gongryong | คงรยง | ไดโนเสาร์ | |||
yu | ㅠ | เมื่อเป็นพยางค์เปิด | ไม่มีพยัญชนะต้น | ยู | uyu | อูยู | นมสด, นมวัว |
มีพยัญชนะต้น | –ยู | hyuji | ฮยูจี | กระดาษทิชชู | |||
เมื่อเป็นพยางค์ปิด | ไม่มีพยัญชนะต้น | ยุ– | yuk | ยุก | จำนวนหก | ||
มีพยัญชนะต้น | –ยุ– | gyul | คยุล | ส้มสีทอง |
ระบบแมกคูน-ไรซ์ชาวเออร์
[แก้]เสียงพยัญชนะ
[แก้]อักษรโรมัน | อักษรเกาหลี | ตำแหน่ง | ||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ต้นพยางค์แรก | ต้นพยางค์อื่น | ท้ายพยางค์ | ||||||||
ใช้ | ตัวอย่าง | คำทับศัพท์ | ใช้ | ตัวอย่าง | คำทับศัพท์ | ใช้ | ตัวอย่าง | คำทับศัพท์ | ||
p / b / p | ㅂ บีอึบ | พ | paji | พาจี (กางเกง) |
บ | haengbok | แฮ็งบก (ความสุข) |
บ | pap | พับ (ข้าว) |
ch’ / ch’ / t | ㅊ ชีอึด | ช | ch’ŏnji | ช็อนจี (จักรวาล) |
ช | Ch’ungch’ŏng | ชุงช็อง (ชื่อจังหวัด) |
ด | kkot | กด (ดอกไม้) |
t / d / t | ㄷ ทีกึด | ท | Taegu | แทกู (ชื่อเมือง) |
ด | taedap | แทดับ (ตอบ) |
ด | natgari | นัดการี (กองฟาง) |
k / g / k | ㄱ คีย็อก | ค | Kangwŏn | คังว็อน (ชื่อจังหวัด) |
ก | Hanguk | ฮันกุก (ประเทศเกาหลี) |
ก | koguk | โคกุก (บ้านเกิดเมืองนอน) |
h / h / – | ㅎ ฮีอึด | ฮ | hobak | โฮบัก (ฟักทอง) |
ฮ | konghang | คงฮัง (สนามบิน) |
|||
ch / j / t | ㅈ จีอึด | ช | chido | ชีโด (แผนที่) |
จ | chujŏnja | ชูจ็อนจา (กาน้ำ) |
ด | pit | พิด (หนี้, หนี้สิน) |
tch / tch / – | ㅉ ซังจีอึด | จ | tchari | จารี (มูลค่า) |
จ | katcha | คาจา (ของปลอม) |
|||
k’ / k’ / k | ㅋ คีอึก | ค | k’al | คัล (มีด) |
ค | mank’ŭm | มันคึม (เท่ากับ) |
ก | puŏk | พูอ็อก (ห้องครัว) |
– / kh[# 1] / – | ㄱㅎ คีย็อกฮีอึด | ค | ch’ukha | ชูคา (ขอแสดงความยินดี) |
||||||
kk / kk / k | ㄲ ซังกีย็อก | ก | kkangt’ong | กังทง (กระป๋อง) |
ก | ŏkkae | ออแก (ไหล่) |
ก | pak | พัก (ข้างนอก) |
m / m / m | ㅁ มีอึม | ม | maŭm | มาอึม (จิตใจ) |
ม | nonmun | นนมุน (วิทยานิพนธ์) |
ม | kim | คิม (สาหร่ายทะเล) |
n / n / n | ㄴ นีอึน | น | na | นา (ฉัน) |
น | nuna | นูนา (คำที่ผู้ชายใช้เรียกพี่สาว) |
น | Namdaemun | นัมแดมุน (ชื่อตลาด) |
– / – / ng | ㅇ อีอึง | ง | madang | มาดัง (ลาน, สวน) | ||||||
p’ / p’ / p | ㅍ พีอึบ | พ | p’al | พัล (จำนวนแปด) |
พ | ap’ŭda | อาพือดา (เจ็บ, ปวด) |
บ | yŏpsaram | ย็อบซารัม (คนข้าง ๆ) |
– / ph[# 2] / – | ㅂㅎ บีอึบฮีอึด | พ | iphak | อีพัก (การสอบเข้า) |
||||||
pp / pp / – | ㅃ ซังบีอึบ | ป | ppallae | ปัลแล (ซักผ้า) |
ป | ippal | อีปัล (ฟัน) |
|||
r / r, l / l | ㄹ รีอึล | ร | ramyŏn | รามย็อน (บะหมี่กึ่งสำเร็จรูป) |
ร | haru | ฮารู (วัน) |
ล | mal | มัล (ม้า) |
ล | Chŏlla | ช็อลลา (ชื่อจังหวัด) | ||||||||
s / s / t | ㅅ ชีอด | ซ | sada | ซาดา (ซื้อ) |
ซ | saengsan | แซ็งซัน (การผลิต) |
ด | sutsso | ซุดโซ (วัวตัวผู้) |
s / s / – (เมื่อตาม ด้วยเสียงสระอีหรือ สระประสมวี) |
ㅅ ชีอด | ช | sijang | ชีจัง (ตลาด) |
ช | tosi | โทชี (เมือง) |
|||
ss / ss / t | ㅆ ซังชีอด | ซ | ssal | ซัล (ข้าวสาร) |
ซ | pulssuk | พุลซุก (กะทันหัน) |
ด | ssaetta | แซ็ดตา (เหลือเฟือ) |
t’ / t’ / t | ㅌ ทีอึด | ท | T’aebaek | แทแบ็ก (ชื่อภูเขา) |
ท | kit’a | คีทา (อื่น ๆ) |
ด | Hanbat | ฮันบัด (ชื่อมหาวิทยาลัย) |
– / th / – | ㄷㅎ ทีกึดฮีอึด | ท | mathyŏng | มาทย็อง (พี่ชายคนโต) |
||||||
tt / tt / – | ㄸ ซังทีกึด | ต | ttukkŏng | ตูก็อง (ฝา) |
ต | hŏritti | ฮอรีตี (เข็มขัด) |
- หมายเหตุ
- ↑ บางที่ใช้ k’ เช่น ch’ukha = ชูคา (ขอแสดงความยินดี) เขียนเป็น ch’uk’a
- ↑ บางที่ใช้ p’ เช่น iphak = อีพัก (การสอบเข้า) เขียนเป็น ip’ak
เสียงสระ
[แก้]สระเดี่ยว
[แก้]อักษรโรมัน | อักษรเกาหลี | เงื่อนไข | ใช้ | ตัวอย่าง | |||
---|---|---|---|---|---|---|---|
คำ | คำทับศัพท์ | ความหมาย | |||||
a | ㅏ | เมื่อเป็นพยางค์เปิด | ไม่มีพยัญชนะต้น | อา | ai | อาอี | เด็ก |
มีพยัญชนะต้น | –า | nara | นารา | ประเทศ | |||
เมื่อเป็นพยางค์ปิด | ไม่มีพยัญชนะต้น | อั– | ap | อับ | ข้างหน้า | ||
มีพยัญชนะต้น | –ั | pap | พับ | ข้าว | |||
ae | ㅐ | เมื่อเป็นพยางค์เปิด | ไม่มีพยัญชนะต้น | แอ | aein | แออิน | คู่รัก |
มีพยัญชนะต้น | แ– | kae | แค | สุนัข | |||
เมื่อเป็นพยางค์ปิด | ไม่มีพยัญชนะต้น | แอ็– | aengmusae | แอ็งมูแซ | นกแก้ว | ||
มีพยัญชนะต้น | แ–็ | naemsae | แน็มแซ | กลิ่น | |||
e | ㅔ | เมื่อเป็นพยางค์เปิด | ไม่มีพยัญชนะต้น | เอ | e | เอ | ที่ (คำชี้สถานที่) |
มีพยัญชนะต้น | เ– | nemo | เนโม | สี่เหลี่ยม | |||
เมื่อเป็นพยางค์ปิด | ไม่มีพยัญชนะต้น | เอ็– | enganhada | เอ็นกันฮาดา | พอประมาณ | ||
มีพยัญชนะต้น | เ–็ | sem | เซ็ม | การคำนวณ | |||
i | ㅣ | เมื่อเป็นพยางค์เปิด | ไม่มีพยัญชนะต้น | อี | ima | อีมา | หน้าผาก |
มีพยัญชนะต้น | –ี | si | ชี | โมง | |||
เมื่อเป็นพยางค์ปิด | ไม่มีพยัญชนะต้น | อิ– | Yongin | ยงอิน | ชื่อเมือง | ||
มีพยัญชนะต้น | –ิ | sil | ชิล | ด้าย | |||
o | ㅗ | เมื่อเป็นพยางค์เปิด | ไม่มีพยัญชนะต้น | โอ | o | โอ | จำนวนห้า |
มีพยัญชนะต้น | โ– | p’odo | โพโด | องุ่น | |||
เมื่อเป็นพยางค์ปิด | ไม่มีพยัญชนะต้น | อ– | ot | อด | เสื้อผ้า | ||
มีพยัญชนะต้น | โ–ะ (ลดรูป) | ton | ทน | เงินตรา | |||
ŏ | ㅓ | เมื่อเป็นพยางค์เปิด | ไม่มีพยัญชนะต้น | ออ | ŏmŏni | ออมอนี | แม่ |
มีพยัญชนะต้น | –อ | sŏda | ซอดา | ยืน | |||
เมื่อเป็นพยางค์ปิด | ไม่มีพยัญชนะต้น | อ็อ– | ŏnni | อ็อนนี | คำที่ผู้หญิงใช้เรียกพี่สาว | ||
มีพยัญชนะต้น | –็อ | tŏrŏpta | ทอร็อบทา | สกปรก | |||
u | ㅜ | เมื่อเป็นพยางค์เปิด | ไม่มีพยัญชนะต้น | อู | ugi | อูกี | ฤดูฝน |
มีพยัญชนะต้น | –ู | tubu | ทูบู | เต้าหู้ | |||
เมื่อเป็นพยางค์ปิด | ไม่มีพยัญชนะต้น | อุ– | undong | อุนดง | การออกกำลังกาย | ||
มีพยัญชนะต้น | –ุ | sul | ซุล | เหล้า | |||
ŭ | ㅡ | เมื่อเป็นพยางค์เปิด | ไม่มีพยัญชนะต้น | อือ | ŭro | อือโร | ด้วย, โดย, ไปทาง |
มีพยัญชนะต้น | –ือ | sŭsŭro | ซือซือโร | ด้วยตนเอง | |||
เมื่อเป็นพยางค์ปิด | ไม่มีพยัญชนะต้น | อึ– | maŭm | มาอึม | จิตใจ | ||
มีพยัญชนะต้น | –ึ | irŭm | อีรึม | ชื่อ |
สระประสมสองส่วน
[แก้]อักษรโรมัน | อักษรเกาหลี | เงื่อนไข | ใช้ | ตัวอย่าง | |||
---|---|---|---|---|---|---|---|
คำ | คำทับศัพท์ | ความหมาย | |||||
oe | ㅚ | เมื่อเป็นพยางค์เปิด | ไม่มีพยัญชนะต้น | เว | oeguk | เวกุก | ต่างประเทศ |
มีพยัญชนะต้น | –เว | koeroum | คเวโรอุม | ความทุกข์ | |||
เมื่อเป็นพยางค์ปิด | ไม่มีพยัญชนะต้น | เว็– | oenson | เว็นซน | มือซ้าย | ||
มีพยัญชนะต้น | –เว็– | hoengdan | ฮเว็งดัน | การข้าม | |||
ŭi | ㅢ | เมื่อไม่มีพยัญชนะต้น | เป็นพยางค์แรก | อึย | ŭisa | อึยซา | หมอ |
ไม่ใช่พยางค์แรก | อี, อึย | Yŏŭido | ยออีโด, ยออึยโด | ชื่อสถานที่ | |||
เมื่อมีพยัญชนะต้น | –ี | hŭin saek | ฮีนแซ็ก | สีขาว | |||
wa | ㅘ | เมื่อเป็นพยางค์เปิด | ไม่มีพยัญชนะต้น | วา | wa | วา | มา |
มีพยัญชนะต้น | –วา | kwaja | ควาจา | ขนม | |||
เมื่อเป็นพยางค์ปิด | ไม่มีพยัญชนะต้น | วั– | wang | วัง | กษัตริย์ | ||
มีพยัญชนะต้น | –วั– | Kwangju | ควังจู | ชื่อเมือง | |||
wae | ㅙ | เมื่อเป็นพยางค์เปิด | ไม่มีพยัญชนะต้น | แว | wae | แว | ทำไม |
มีพยัญชนะต้น | –แว | twaeji | ทแวจี | หมู | |||
เมื่อเป็นพยางค์ปิด | ไม่มีพยัญชนะต้น | แว็– | waengwaeng | แว็งแว็ง | เสียงดังหึ่ง ๆ อย่างผึ้งบิน | ||
มีพยัญชนะต้น | –แว็– | kkwaengnamu | กแว็งนามู | ชื่อต้นไม้ | |||
we | ㅞ | เมื่อเป็นพยางค์เปิด | ไม่มีพยัญชนะต้น | เว | weit’ŏ | เวอีทอ | พนักงานเสิร์ฟ |
มีพยัญชนะต้น | –เว | kwebŏm | คเวบ็อม | ตัวอย่าง, แบบอย่าง | |||
เมื่อเป็นพยางค์ปิด | ไม่มีพยัญชนะต้น | เว็– | wennil | เว็นนิล | อะไร, เพราะอะไร | ||
wi | ㅟ | เมื่อเป็นพยางค์เปิด | ไม่มีพยัญชนะต้น | วี | wi | วี | ข้างบน |
มีพยัญชนะต้น | –วี | kwi | ควี | หู | |||
เมื่อเป็นพยางค์ปิด | ไม่มีพยัญชนะต้น | วิ– | witsaram | วิดซารัม | ผู้ใหญ่ | ||
มีพยัญชนะต้น | –วิ– | swin | ชวิน | จำนวนห้าสิบ | |||
wŏ | ㅝ | เมื่อเป็นพยางค์เปิด | ไม่มีพยัญชนะต้น | วอ | arŭmdawŏ! | อารึมดาวอ | สวยจังเลย! |
มีพยัญชนะต้น | –วอ | chwŏ | ชวอ | ขอ | |||
เมื่อเป็นพยางค์ปิด | ไม่มีพยัญชนะต้น | ว็อ– | wŏllae | ว็อลแล | ดั้งเดิม | ||
มีพยัญชนะต้น | –ว็อ– | yŏgwŏn | ยอกว็อน | หนังสือเดินทาง | |||
ya | ㅑ | เมื่อเป็นพยางค์เปิด | ไม่มีพยัญชนะต้น | ยา | yagu | ยากู | กีฬาเบสบอล |
มีพยัญชนะต้น | –ยา | ch’yawŏ | ชยาวอ | การอาบน้ำ | |||
เมื่อเป็นพยางค์ปิด | ไม่มีพยัญชนะต้น | ยั– | yak | ยัก | ยา | ||
มีพยัญชนะต้น | –ยั– | talgyal | ทัลกยัล | ไข่ไก่ | |||
yae | ㅒ | เมื่อเป็นพยางค์เปิด | ไม่มีพยัญชนะต้น | แย | yaegi | แยกี | เรื่องราว |
มีพยัญชนะต้น | –แย | kyae | คแย | เด็กคนนั้น | |||
ye | ㅖ | เมื่อเป็นพยางค์เปิด | ไม่มีพยัญชนะต้น | เย | yejŏl | เยจ็อล | มารยาท |
มีพยัญชนะต้น | –เย | sigye | ชีกเย | นาฬิกา | |||
เมื่อเป็นพยางค์ปิด | ไม่มีพยัญชนะต้น | เย็– | yennal | เย็นนัล | สมัยก่อน | ||
มีพยัญชนะต้น | –เย็– | kyetnal | คเย็ดนัล | วันส่งแชร์ | |||
yo | ㅛ | เมื่อเป็นพยางค์เปิด | ไม่มีพยัญชนะต้น | โย | yori | โยรี | อาหาร, การทำอาหาร |
มีพยัญชนะต้น | –โย | hakgyo | ฮักกโย | โรงเรียน | |||
เมื่อเป็นพยางค์ปิด | ไม่มีพยัญชนะต้น | ย– | yong | ยง | มังกร | ||
มีพยัญชนะต้น | –ย– | kongryong | คงรยง | ไดโนเสาร์ | |||
yŏ | ㅕ | เมื่อเป็นพยางค์เปิด | ไม่มีพยัญชนะต้น | ยอ | yŏhaeng | ยอแฮ็ง | การท่องเที่ยว |
มีพยัญชนะต้น | –ยอ | p’yŏ | พยอ | รวงข้าว | |||
เมื่อเป็นพยางค์ปิด | ไม่มีพยัญชนะต้น | ย็อ– | yŏnmal | ย็อนมัล | ปลายปี | ||
มีพยัญชนะต้น | –ย็อ– | ramyŏn | รามย็อน | บะหมี่กึ่งสำเร็จรูป | |||
yu | ㅠ | เมื่อเป็นพยางค์เปิด | ไม่มีพยัญชนะต้น | ยู | uyu | อูยู | นมสด, นมวัว |
มีพยัญชนะต้น | –ยู | hyuji | ฮยูจี | กระดาษทิชชู | |||
เมื่อเป็นพยางค์ปิด | ไม่มีพยัญชนะต้น | ยุ– | yuk | ยุก | จำนวนหก | ||
มีพยัญชนะต้น | –ยุ– | kyul | คยุล | ส้มสีทอง |
วิธีการถอดเสียงภาษาไทยจากโรมะจิ
[แก้]การแยกพยางค์
[แก้]แยกพยางค์ก่อน เพราะคำในภาษาญี่ปุ่นประกอบด้วย สระ และ/หรือพยางค์ต้น โดยไม่มีพยางค์ท้ายทุกคำเหมือนภาษาไทยยกเว้น ตัว ん (ออกเสียง ง,น,ม) โดยสระที่อยู่ติดแยกคำอ่าน ยกเว้น aa, ei, ou ถือเป็นพยางค์เดียว
- chijimu แยก chi-ji-mu อ่าน ชิจิมุ
- aoi แยก a-o-i อ่าน อะโอะอิ
- nihongo แยก ni-hon-go อ่าน นิฮงโงะ
- tōri แยก tō-ri อ่าน โทริ
- fujieda แยก fu-ji-e-da อ่าน ฟุจิเอะดะ
- sensei แยก sen-sei อ่าน เซ็นเซ
- sai, kai, rai, tai หากเขียนด้วยอักษรคะนะและอยู่ในคำเดียวกันมักอ่านร่วมเป็นพยางค์เดียว แต่หากมาจากคันจิคนละตัวมักอ่านแยกสองพยางค์
- 堺市 เป็นชื่อเมืองในจังหวัดโอซะกะ คันจิ 堺 ออกเสียง さかい (ซะไก) ส่วน 市 ออกเสียง し (ชิ) กรณีนี้จึงอ่านรวม kai เป็นพยางค์เดียว (ดู ซะไก)
- 坂井 เป็นนามสกุล คันจิ 坂 ออกเสียง さか (ซะกะ) ส่วนคันจิ 井 ออกเสียง い (อิ) กรณีนี้จึงอ่านแยกว่า ซะกะอิ (ดู อิซุมิ ซะกะอิ) เช่นเดียวกับ 中井 อ่านว่า นะกะอิ
- 侍 ออกเสียง さむらい (ซะมุไร) เนื่องจากเป็นคันจิตัวเดียวจึงอ่านออกเสียงรวม rai เป็นพยางค์เดียว (ดู ซะมุไร)
- イタイイタイ ออกเสียง イタイイタイ (อิไตอิไต) เนื่องจากเป็นเสียงโอดโอย เขียนด้วยคะตะกะนะ จึงอ่าน tai รวมเป็นพยางค์เดียว (ดู โรคอิไตอิไต)
ตารางเทียบเสียงสระภาษาญี่ปุ่น
[แก้]โรมะจิ | อักษรญี่ปุ่น | การทับศัพท์ | ตัวอย่าง | หมายเหตุ |
---|---|---|---|---|
a | あ | อะ, –ั | yama = ยะมะ, sakura = ซะกุระ, gakkoo = กักโก, san = ซัง | |
aa, ā | ああ | อา | okāsan = โอะกาซัง, obāsan = โอะบาซัง | |
e | え | เอะ, เ–็ | ike = อิเกะ, fune = ฟุเนะ, denwa = เด็งวะ, sensei = เซ็นเซ | |
ee, ē, ei | ええ, えい | เอ | sensei = เซ็นเซ, onēsan = โอะเนซัง | |
i | い | อิ | kin = คิง, kaki = คะกิ, hashi = ฮะชิ | |
ii, ī | いい | อี | oniisan, = โอะนีซัง, oishii, = โอะอิชี | |
o | お | โอะ, โอะลดรูป | ocha = โอะชะ, kome = โคะเมะ, Nippon = นิปปง, konnichiwa = คนนิชิวะ | |
oo, ō, ou | おう, おお | โอ | otōsan = โอะโตซัง, sayōnara = ซะโยนะระ | |
u | う | อุ | shinbun = ชิมบุง, isu = อิซุ, Suzuki = ซุซุกิ | |
uu, ū | うう | อู | jūyō = จูโย, jūsho = จูโชะ | |
ya | ゃ | เอียะ | kyaku = เคียะกุ, hyaku = เฮียะกุ | * |
yaa, yā | ゃあ | เอีย | nyānyā = เนียเนีย | * |
yo | ょ | เอียว | ryokō = เรียวโก | * |
yoo, yō | ょう, ょお | เอียว | byōin = เบียวอิง, ryōri = เรียวริ | * |
yu | ゅ | อิว | kyu = คิว | * |
yuu, yū | ゅう | อีว | kyūkō = คีวโก | * |
- * "y" เป็นเสียงกึ่งสระเมื่อตามหลังพยัญชนะจึงกำหนดให้เป็นเสียงสระเพื่อความสะดวกในการออกเสียง
ตารางเทียบเสียงพยัญชนะภาษาญี่ปุ่น
[แก้]โรมะจิ | อักษรญี่ปุ่น | การทับศัพท์ | ตัวอย่าง | หมายเหตุ |
---|---|---|---|---|
b | ば び ぶ べ ぼ | บ | obi = โอะบิ konbanwa = คมบังวะ |
|
ch | ち (+ゃ ゅ ょ) | ช | chiisai = ชีซะอิ konnichiwa = คนนิชิวะ |
chi ในบางแห่งอาจเขียนเป็น ti โดยออกเสียงเหมือน chi |
d | だ で ど | ด | denwa = เด็งวะ Yamada = ยะมะดะ |
|
f | ふ | ฟ | Fujisan = ฟุจิซัง fune = ฟุเนะ |
|
g | が ぎ ぐ げ ご | ก (พยางค์แรก) | ginkō = กิงโก | |
ง (พยางค์อื่น) | arigatō = อะริงะโต | |||
h | は ひ へ ほ | ฮ | hashi = ฮะชิ | |
j | じ ぢ (+ゃ ゅ ょ) | จ | kaji = คะจิ | ปัจจุบัน じ และ ぢ ออกเสียงเหมือนกัน, ji ในบางแห่งอาจเขียนเป็น zi |
k | か き く け こ | ค (พยางค์แรก) | kao = คะโอะ | |
ก (พยางค์อื่น) | niku = นิกุ | |||
-kk | っ (+か き く け こ) | กก | gakkō = กักโก | |
m | ま み む め も | ม | mado = มะโดะ | |
n | な に ぬ ね の | น | Nagoya = นะโงะยะ | |
-n | ん | ง, น, ม | ดูหมายเหตุท้ายตาราง | |
p | ぱ ぴ ぷ ぺ ぽ | พ (พยางค์แรก) | pen = เพ็ง | |
ป (พยางค์อื่น) | tenpura = เท็มปุระ | |||
-pp | っ (+ぱ ぴ ぷ ぺ ぽ) | ปป | Nippon = นิปปง | |
r | ら り る れ ろ | ร | ringo = ริงโงะ | |
s | さ す せ そ | ซ | sakana = ซะกะนะ | |
sh | し (+ゃ ゅ ょ) | ช | sashimi = ซะชิมิ | shi ในบางแห่งอาจจะเขียนเป็น si โดยออกเสียงเหมือน shi |
-ss | っ (+さ す せ そ) | สซ | kissaten = คิสซะเต็ง | |
-ssh | っ (+ し (+ゃ ゅ ょ)) | สช | zasshi = ซัสชิ | |
t | た て と | ท (พยางค์แรก) | te = เทะ | |
ต (พยางค์อื่น) | migite = มิงิเตะ | |||
-tch, -cch | っ (+ち (+ゃ ゅ ょ)) | ตช | itchi = อิตชิ | |
tsu | つ | สึ | tsukue = สึกุเอะ | |
-tt | っ (+た て と) | ตต | komitto = โคะมิตโตะ | |
-ttsu | っつ | ตสึ | mittsu = มิตสึ | |
w | わ は | ว | watashi = วะตะชิ | は สำหรับคำเชื่อมประโยคหรือท้ายประโยค ออกเสียง วะ นอกนั้นออกเสียง ฮะ |
y | や ゆ よ | ย | yama = ยะมะ | |
z | ざ ず ぜ ぞ づ | ซ | mizu = มิซุ |
สำหรับ n ที่เป็นตัวสะกด
[แก้]n เมื่อเป็นตัวสะกดจะออกเสียงได้หลายอย่าง จึงกำหนดไว้ดังนี้
- เมื่อตามด้วยพยัญชนะ b m และ p ให้ถอดเป็น ม เช่น
- shinbun = ชิมบุง
- sanmai = ซัมไม
- enpitsu = เอ็มปิสึ
- เมื่อตามด้วยพยัญชนะ g h k และ w ให้ถอดเป็น ง เช่น
- ringo = ริงโงะ
- ginkō = กิงโก
- denwa = เด็งวะ
- เมื่ออยู่ท้ายสุดของคำ ให้ถอดเป็น ง เช่น
- hon = ฮง
- san = ซัง
- ในกรณีอื่น ๆ นอกจากที่กำหนดไว้ในข้อ 1, 2 และ 3 ให้ถอดเป็น น เช่น
- gunjin = กุนจิง
- hontō = ฮนโต
- undō = อุนโด
- chichimenchō= ชิชิเม็นโช
- densha = เด็นชะ
- onna = อนนะ
- kanri = คันริ
- dansei = ดันเซ
ข้อยกเว้น
[แก้]- วิสามายนาม วิสามายนามในภาษาญี่ปุ่น เมื่อเจ้าตัว, เจ้าของ, ตัวแทนอย่างเป็นทางการ, ผู้ทรงลิขสิทธิ์ หรือองค์กรในภูมิภาคกำหนดหรือใช้อย่างเป็นทางการในประเทศไทยเช่นไร ก็ควรใช้เช่นนั้น แม้ไม่ต้องตามวิธีทับศัพท์นี้ เช่น ชื่อบุคคล, ตัวละคร, บริษัท, ห้างร้าน, หน่วยงาน, สิ่งประดิษฐ์, วรรณกรรม, สิ่งบันเทิง, กีฬา ฯลฯ เป็นต้นว่า
- 三菱 (Mitsubishi, ตามหลักต้องว่า "มิสึบิชิ") แต่มีชื่ออย่างเป็นทางการ (ชื่อบริษัทยานยนต์) ในประเทศไทยว่า "มิตซูบิชิ" ก็ให้ใช้อย่างหลังนี้ (ดู มิตซูบิชิ)
- คำที่ทับศัพท์จากภาษาอื่น คำในภาษาญี่ปุ่นที่ทับศัพท์จากภาษาอื่นมักเขียนด้วยคะตะกะนะ อาจให้ทับศัพท์ตามภาษาต้นทาง เช่น
- カノン (Kanon, ตามหลักต้องว่า "คะนง") ทับศัพท์จากคำภาษาอังกฤษว่า "Kanon", ก็ให้ทับศัพท์ตามคำอังกฤษนั้น และโดยวิธีทับศัพท์ภาษาอังกฤษ เป็น "แคนอน", แต่เนื่องจากเป็นชื่ออะนิเมะ (วิสามานยนาม) ซึ่งในประเทศไทยใช้อย่างเป็นทางการว่า "คาน่อน" จึงให้เขียนชื่ออะนิเมะนี้ว่า "คาน่อน" (ดู คาน่อน)
- チャオリンシェン (Chao Rinshen, ตามหลักต้องว่า "เชา รินเช็ง") ทับศัพท์จากคำภาษาจีนว่า "超鈴音" (Chāo Língchén), ก็ให้ทับศัพท์ตามคำจีนนั้น และโดยวิธีทับศัพท์ภาษาจีน เป็น "เชา หลิงเฉิน", แต่เนื่องจากเป็นชื่อตัวละคร (วิสามานยนาม) ซึ่งในประเทศไทยใช้อย่างเป็นทางการว่า "เจ้า หลินเฉิง" จึงให้เขียนชื่อตัวละครนี้ว่า "เจ้า หลินเฉิง" (ดู เจ้า หลินเฉิง)
- วิดีโอเกมที่ผลิตโดยญี่ปุ่นแต่อิงจากภาษาอื่น หรืออาจใช้ตามความนิยมของนักเล่นเกมส่วนใหญ่ โดยอาจใช้อ้างอิงหรือมีการอภิปรายประกอบ
- คำที่นิยมเขียนเป็นอื่น คำในภาษาญี่ปุ่น ที่ในประเทศไทยนิยมเขียนแบบอื่นซึ่งไม่ต้องตามวิธีทับศัพท์นี้ ก็อาจใช้ต่อไปตามนั้น เช่น
- คำที่ราชบัณฑิตยสถานรับรอง คำที่ราชบัณฑิตยสถานบัญญัติเอง ให้ใช้ตามนั้น แม้ไม่ต้องตามวิธีทับศัพท์นี้ก็ตาม เช่น
- 東京 (Tōkyō, แยกพยางค์เป็น Tō-kyō, และตามหลักต้องว่า "โทเกียว") ราชบัณฑิตยสถานให้ว่า "โตเกียว" โดยชี้แจงว่า ก่อนประกาศใช้หลักเกณฑ์นี้ มีการทับศัพท์ว่า "โตเกียว" แพร่หลายอยู่แล้ว
- 津波 (tsunami, ตามหลักต้องว่า "สึนะมิ") ราชบัณฑิตยสถานบัญญัติว่า "สึนามิ" ตามความนิยม