ข้ามไปเนื้อหา

ผู้ใช้:Slentee/กระบะทราย

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

note

พายุ

[แก้]

ใช้บ่อย

[แก้]

การคาดการณ์

[แก้]
การคาดการณ์โดยสำนักอุตุนิยมวิทยาญี่ปุ่น
วันที่ 19 เวลา 06:00 UTC วันที่ 19 เวลา 18:00 UTC วันที่ 20 เวลา 18:00 UTC วันที่ 21 เวลา 18:00 UTC [1]
ความรุนแรง พายุไต้ฝุ่น พายุไต้ฝุ่น พายุไต้ฝุ่น พายุไต้ฝุ่น
ลม (นอต)
(ลม 10 นาที)
100 110 110 105
ความกดอากาศ (hPa) 925 910 910 915
การคาดการณ์โดยศูนย์เตือนไต้ฝุ่นร่วม
วันที่ 19 เวลา 00:00 UTC วันที่ 19 เวลา 12:00 UTC วันที่ 20 เวลา 00:00 UTC วันที่ 19 เวลา 12:00 UTC [2]
ความรุนแรง พายุไต้ฝุ่นระดับ 4 พายุซูเปอร์ไต้ฝุ่นระดับ 4 พายุซูเปอร์ไต้ฝุ่นระดับ 5 พายุซูเปอร์ไต้ฝุ่นระดับ 5
ลม (นอต)
(ลม 1 นาที)
125 135 140 140
การคาดการณ์โดยกรมอุตุนิยมวิทยา
วันที่ 18 เวลา 12:00 UTC วันที่ 19 เวลา 12:00 UTC วันที่ 20 เวลา 12:00 UTC วันที่ 21 เวลา 12:00 UTC [3]
ความรุนแรง พายุไต้ฝุ่น พายุไต้ฝุ่น พายุไต้ฝุ่น พายุไต้ฝุ่น
ลม (นอต)
(ลม 10 นาที)
95 105 110 110
การคาดการณ์โดยสำนักอุตุนิยมวิทยาญี่ปุ่น
วันที่ 15
เวลา 09:00 UTC
(การวิเคราะห์)
วันที่ 19
เวลา 18:00 UTC
วันที่ 20
เวลา 18:00 UTC
วันที่ 21
เวลา 18:00 UTC
[4]
ความรุนแรง พายุไต้ฝุ่น พายุไต้ฝุ่น พายุไต้ฝุ่น พายุไต้ฝุ่น
ลม (นอต)
(ลม 10 นาที)
100 110 110 105
ความกดอากาศ (hPa) 925 910 910 915
การคาดการณ์โดยศูนย์เตือนไต้ฝุ่นร่วม
วันที่ 15
เวลา 09:00 UTC
วันที่ 19
เวลา 18:00 UTC
วันที่ 20
เวลา 18:00 UTC
วันที่ 21
เวลา 18:00 UTC
[5]
ความรุนแรง พายุไต้ฝุ่นระดับ 4 พายุซูเปอร์ไต้ฝุ่นระดับ 4 พายุซูเปอร์ไต้ฝุ่นระดับ 5 พายุซูเปอร์ไต้ฝุ่นระดับ 5
ลม (นอต)
(ลม 1 นาที)
125 135 140 140
การคาดการณ์โดยกรมอุตุนิยมวิทยา
วันที่ 15
เวลา 09:00 UTC
วันที่ 19
เวลา 18:00 UTC
วันที่ 20
เวลา 18:00 UTC
วันที่ 21
เวลา 18:00 UTC
[6]
ความรุนแรง พายุไต้ฝุ่น พายุไต้ฝุ่น พายุไต้ฝุ่น พายุไต้ฝุ่น
ลม (นอต)
(ลม 10 นาที)
95 105 110 110

การคาดการณ์ความรุนแรงของพายุ

[แก้]

การคาดการณ์ความรุนแรงของพายุโซนร้อนปาบึกของกรมอุตุนิยมวิทยาญี่ปุ่น ศูนย์เตือนไต้ฝุ่นร่วม และกรมอุตุนิยมวิทยา สำหรับการคาดการณ์ในระยะยาวมักมีความไม่แน่นอนสูง เนื่องจากปัจจัยทางสภาพภูมิอากาศเปลี่ยนแปลงได้ตลอดเวลา

การคาดการณ์โดยกรมอุตุนิยมวิทยาญี่ปุ่น
1 ม.ค.
เวลา 18:00 UTC
(การวิเคราะห์)
2 ม.ค.
เวลา 18:00 UTC
(+24 ชม.)
3 ม.ค.
เวลา 18:00 UTC
(+48 ชม.)
4 ม.ค.
เวลา 18:00 UTC
(+72 ชม.)
[7]
ความรุนแรง พายุโซนร้อน พายุโซนร้อน พายุโซนร้อนกำลังแรง พายุโซนร้อนกำลังแรง
ลม (นอต)
(ลม 10 นาที)
35 35 50 60
ความกดอากาศ (hPa) 1000 1000 992 985
การคาดการณ์โดยศูนย์เตือนไต้ฝุ่นร่วม
1 ม.ค.
เวลา 15:00 UTC
2 ม.ค.
เวลา 00:00 UTC
(+12 ชม.)
2 ม.ค.
เวลา 12:00 UTC
(+24 ชม.)
3 ม.ค.
เวลา 00:00 UTC
(+36 ชม.)
[8]
ความรุนแรง พายุดีเปรสชัน พายุโซนร้อน พายุโซนร้อน พายุโซนร้อน
ลม (นอต)
(ลม 1 นาที)
30 35 40 40
การคาดการณ์โดยกรมอุตุนิยมวิทยา
1 ม.ค.
เวลา 12:00 UTC
2 ม.ค.
เวลา 12:00 UTC
(+24 ชม.)
3 ม.ค.
เวลา 12:00 UTC
(+48 ชม.)
4 ม.ค.
เวลา 12:00 UTC
(+72 ชม.)
[9]
ความรุนแรง พายุโซนร้อน พายุโซนร้อน พายุโซนร้อน พายุโซนร้อน
ลม (นอต)
(ลม 10 นาที)
35 35 40 50

เตือนภัย

[แก้]
การเตือนภัยโดยกรมอุตุนิยมวิทยา
การเตือนภัยลมกระโชกแรง ไม่มี [10]
การเตือนภัยฝนตกหนัก ไม่มี
การเตือนภัยลมกระโชก ไม่มี
การเตือนภัยฝนตก
  • ภาค
    จังหวัด
การเตือนภัยโดย(ชื่อศูนย์เตือนภัย)
เตือนลมกระโชกและฝนตกหนัก
พื้นที่ที่อาจได้รับผลกระทบ
จากลมกระโชกและ
ฝนตกหนักถึงหนักมาก
  • ภาค
    • จังหวัด
เตือนลมกระโชก
พื้นที่ที่อาจได้รับ
ผลกระทบจากลมกระโชก
  • ภาค
    • จังหวัด
เตือนฝนตกหนัก
พื้นที่ที่อาจได้รับผลกระทบ
จากฝนตกหนักถึงหนักมากบางแห่ง
  • ภาค
    • จังหวัด
เตือนฝนตก
พื้นที่ที่อาจได้รับผลกระทบจาก
ฝนตกและฝนตกหนักบางแห่ง
  • ภาค
    • จังหวัด
เตือนแผ่นดินถล่ม
พื้นที่ที่อาจได้รับ
ผลกระทบจากแผ่นดินถล่ม
  • ภาค
    • จังหวัด
เตือนคลื่นลมในทะเล
พื้นที่ที่อาจได้รับ
ผลกระทบจากคลื่นลมในทะเล
  • ภาค
    • จังหวัด
เตือนพายุโซนร้อน
ภาวะพายุโซนร้อน
คาดหมายภายใน 36 ชั่วโมง
  • ภาค
    • จังหวัด
ที่มา: [ลิงก์ ประกาศ...ฉบับที่...]

กล่องข้อมูลพายุปัจจุบัน

[แก้]
ชื่อ
สถานะปัจจุบันของพายุ
พายุโซนร้อน (JMA)
พายุโซนร้อน (TMD)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
ภาพ
ภาพถ่ายดาวเทียม
ทางเดิน
แผนที่พยากรณ์
ข้อมูล ณ วันที่ 00 สิงหาคม เวลา 00:00 UTC
(เวลา 03:00 น. ตามเวลาประเทศไทย)
ตำแหน่ง: 18°00′N 174°18′E / 18.0°N 174.3°E / 18.0; 174.3 (ชื่อ) ± 30 nm

ห่างจาก______ ไปทางทิศ ENE
ที่ระยะประมาณ 0 ไมล์ (0 กิโลเมตร)

ลมพัด
ต่อเนื่อง:
45 นอต (85 กม./ชม.) (เฉลี่ย 10 นาที)
45 นอต (85 กม./ชม.) (เฉลี่ย 1 นาที)
ลมกระโชกถึง 50 นอต (95 กม./ชม.)
ความกดอากาศ: 990 hPa (mbar)
ทิศทางการ
เคลื่อนตัว:
เคลื่อนตัวไปทางทิศ ตะวันตก ทิศตะวันตก
ด้วยความเร็ว 0 นอต (0 กิโลเมตรต่อชั่วโมง; 0 ไมล์ต่อชั่วโมง)
ใน[[ทะเลจีนใต้]]<br>ห่างจาก[[ฮ่องกง]] ไปทางทิศ {{Tcdir|SSE}}<br>ที่ระยะประมาณ 277 [[ไมล์ทะเล]] (513 [[กิโลเมตร|กม.]])<!--{{convert|277|nmi|abbr=on}}-->
เคลื่อนตัวไปทางทิศ {{Tcdir icon|WNW}}<br>ด้วยความเร็ว 12 [[นอต]] (22 [[กิโลเมตรต่อชั่วโมง|กม./ชม.]])<!--{{convert|12|kn|abbr=on}}-->

NNW ทิศตะวันตกเฉียงเหนือเฉเหนือ

{{#if:{{{1}}}|{{Tcdir icon/icon|{{{1}}}}} {{Abbr|{{{1|}}}|{{Tcdir icon/data|{{{1}}}}} }} }}
{{#if:{{{1}}}|{{Abbr|{{{1|}}}|{{Tcdir icon/data|{{{1}}}}} }} }}
  • กล่องล่าง ฤดูกาลยังดำเนินอยู่
  • กล่องบน ฤดูกาลยังดำเนินอยู่ในปัจจุบัน

ข้อมูลปัจจุบันของพายุ

[แก้]
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้
โนรู
โนรู
Slentee/กระบะทราย
ตำแหน่งโดยประมาณของศูนย์กลางพายุโนรู ณ วันที่ 28 กันยายน เวลา 01:00 น. ตามเวลาในประเทศไทย (ข้อมูล: JMA ดูเพิ่มเติมที่ ข้อมูลปัจจุบันของพายุ)


ณ วันที่ (วันที่) (เดือน) เวลา ??:?? น. (ตามเวลาท้องถิ่น...) หรือตรงกับ วันที่ (วันที่) (เดือน) เวลา ??:?? น. (ตามเวลาสากลเชิงพิกัด) หรือตรงกับ ??:?? น. (ตามเวลาในประเทศไทย) พายุ(ความรุนแรง+ชื่อ) อยู่ ณ พิกัด 0°00′N 0°00′E / 0.0°N 0.0°E / 0.0; 0.0 (ชื่อพายุ) (± ?? ไมล์ทะเล) อยู่ในทะเล... ห่างจาก (ชื่อเมือง), (รัฐ/ประเทศ/ดินแดน) ไปทางทิศ(ชื่อทิศ) ที่ระยะห่าง 0 กิโลเมตร (0 ไมล์) มีความเร็วลมสูงสุดที่ศูนย์กลางพัดต่อเนื่องใน 10 นาที 0 นอต (0 กิโลเมตรต่อชั่วโมง; 0 ไมล์ต่อชั่วโมง) มีความเร็วลมสูงสุดที่ศูนย์กลางพัดต่อเนื่องใน 1 นาที 0 นอต (0 กิโลเมตรต่อชั่วโมง; 0 ไมล์ต่อชั่วโมง) มีความเร็วลมกระโชกแรงถึง 0 นอต (0 กิโลเมตรต่อชั่วโมง; 0 ไมล์ต่อชั่วโมง) มีความกดอากาศต่ำสุดที่ศูนย์กลาง 0 เฮกโตปาสกาล (0.000 นิ้วปรอท) และระบบพายุมีทิศทางการเคลื่อนตัวไปทางทิศใต้ ด้วยความเร็ว 0 นอต (0 กิโลเมตรต่อชั่วโมง; 0 ไมล์ต่อชั่วโมง) แรงลมระดับพายุ(ชื่อเฉพาะแอ่ง)ขยายออกไปมากถึง 0 กิโลเมตร (0 ไมล์) นับจากจุดศูนย์กลางพายุ และแรงลมระดับพายุ(ชื่อเฉพาะแอ่ง)ขยายออกไปมากถึง 0 กิโลเมตร (0 ไมล์) นับจากจุดศูนย์กลางพายุ

สำหรับข้อมูลเพิ่มเติมล่าสุด ดูที่:

  • [(ลิงก์) ข้อมูลสำหรับพายุ(ชื่อพายุ)] โดย(ศูนย์/สำนักอุตุนิยมวิทยา)
    • ข้อความเตือนภัยสำหรับ (JTWC)

ชื่อสากล

[แก้]

โดยชื่อที่ยังไม่ถูกใช้จะถูกทำเป็น อักษรสีเทา

ชุดที่ 1
  • บอละเวน (1801)
  • ซันปา (1802)
  • เจอลาวัต (1803)
  • เอวิเนียร์ (1804)
  • มาลิกซี (1805)
  • แคมี (1806)
  • พระพิรุณ (1807)
  • มาเรีย (1808)
  • เซินติญ (1809)
  • อ็อมปึล (1810)
  • อู๋คง (1811)
  • ชงดารี (1812)
  • ชานชาน (1813)
  • ยางิ (1814)
  • หลี่ผี (1815)
  • เบบินคา (1816)
  • รุมเบีย (1818)
  • ซูลิก (1819)
  • ซีมารอน (1820)
  • เชบี (1821)
  • มังคุด (1822)
  • บารีจัต (1823)
  • จ่ามี (1824)

ชุดที่ 2

  • กองเร็ย (1825)
  • ยวี่ถู่ (1826)
  • โทราจี (1827)
  • หม่านหยี่ (1828)
  • อูซางิ (1829)
  • ปาบึก (ยังไม่ใช้)
  • หวู่ติ๊บ (ยังไม่ใช้)
  • เซอปัต (ยังไม่ใช้)
  • มูน (ยังไม่ใช้)
  • ดานัส (ยังไม่ใช้)
  • นารี (ยังไม่ใช้)
  • วิภา (ยังไม่ใช้)
  • อากาโตน (Agaton) (1801)
  • บาชัง (Basyang) (1802)
  • กาโลย (Caloy) (1803)
  • โดเมง (Domeng) (1805)
  • เอสเตร์ (Ester) (1806)
  • โฟลรีตา (Florita) (1807)
  • การ์โด (Gardo) (1808)
  • เฮนรี (Henry) (1809)
  • อินได (Inday) (1810)
  • โจซี (Josie)
  • การ์ดิง (Karding) (1814)
  • ลุยส์ (Luis)
  • ไมไม (Maymay) (1821)
  • เนเนง (Neneng) (1823)
  • โอมโปง (Ompong) (1822)
  • ปาเอง (Paeng) (1824)
  • กวีนี (Queenie) (1825)
  • โรซีตา (Rosita) (1826)
  • ซามูเวล (Samuel) (1829)
  • โตมัส (Tomas) (1828)
  • อุสมัน (Usman) (ใช้ในปัจจุบัน)
  • เบนุส (Venus) (ยังไม่ใช้)
  • วัลโด (Waldo) (ยังไม่ใช้)
  • ยายัง (Yayang) (ยังไม่ใช้)
  • เซนี (Zeny) (ยังไม่ใช้)

รายชื่อเพิ่มเติม

  • อากีลา (Agila) (ไม่ถูกใช้)
  • บากวิส (Bagwis) (ยังไม่ใช้)
  • ซีโต (Chito) (ไม่ถูกใช้)
  • ดีเยโก (Diego) (ยังไม่ใช้)
  • เอเลนา (Elena) (ไม่ถูกใช้)
  • เฟลีโน (Felino) (ไม่ถูกใช้)
  • กุนดิง (Gunding) (ไม่ถูกใช้)
  • แฮร์เรียต (Harriet) (ไม่ถูกใช้)
  • อินดัง (Indang) (ไม่ถูกใช้)
  • เจสซา (Jessa) (ไม่ถูกใช้)

จันทรุปราคา

[แก้]
จันทรุปราคาเต็มดวง
28 กันยายน พ.ศ. 2558
คราสด้านเหนือบน
ดวงจันทร์เคลื่อนผ่านเงาของโลกจากขวาไปซ้าย (ตะวันตกไปตะวันออก)
ประเภทของอุปราคา
ประเภทเต็มดวง
แกมมา−0.3296
ความส่องสว่างเงามัว2.2296
ความส่องสว่างเงามืด1.2764
ระยะเวลา (ชั่วโมง:นาที:วินาที)
เต็มดวง01:11:55
บางส่วน03:19:52
เงามัว05:10:41
เวลา (UTC)
(P1) เริ่มจันทรุปราคาเงามัว00:11:47
(U1) เริ่มจันทรุปราคาบางส่วน01:07:11
(U2) เริ่มจันทรุปราคาเต็มดวง02:11:10
บดบังมากที่สุด02:47:07
(U3) สิ้นสุดจันทรุปราคาเต็มดวง03:23:05
(U4) สิ้นสุดจันทรุปราคาบางส่วน04:27:03
(P4) สิ้นสุดจันทรุปราคาเงามัว05:22:27
แหล่งอ้างอิง
แซรอส137 (28 จาก 78)
บัญชี # (LE5000)9685
ดวงจันทร์เคลื่อนผ่านเงาของโลกจากตะวันตกไปทางตะวันออก (จากขวาไปซ้าย) ที่แสดงในภาพ ดาวยูเรนัส มีความส่องสว่างปรากฏ 5.7 สามารถมองเห็นได้ผ่านกล้องสองตา ห่างจากดวงจันทร์ขณะจันทรุปราคาเต็มดวงทางตะวันออก 16 องศา

test

[แก้]
สถิติฤดูกาลของ[[{{{แอ่ง}}}]] {{{ปี}}}
ชื่อพายุ วันที่มีกำลัง ระดับของพายุ
เมื่อมีกำลังสูงสุด
ความเร็วลมสูงสุด
ต่อเนื่อง 10 นาที
กม./ชม.
ความกดอากาศ
ต่ำที่สุด
hPa (นิ้วปรอท)
พื้นที่ได้รับผลกระทบ ความเสียหาย
(USD)
ผู้เสียชีวิต อ้างอิง

This is the header for a table of tropical cyclones statistics for a basin/season.

Usage

[แก้]

Template syntax

[แก้]
{{TC stats table start3|year=|basin=}}

Construction of tropical cyclone tables

[แก้]

The overall way of constructing a tropical cyclones statistics table is given below. Unless explicitly indicated otherwise, the templates are used in the order in which they are given. The parameters for each template is described in its definition.

{{TC stats table start|year=|basin=}}
{{TC stats cyclone3|cat=|name=|dates=|max-winds=|min-press=|areas|damage=|deaths=}}
{{TC stats table end3|num-cyclones=|dates=|max-winds=|min-press=|tot-areas=|tot-damage=|tot-deaths=}}



แผ่นดินไหวในประเทศไทยและใกล้เคียง

[แก้]

ในส่วนนี้แสดงแผ่นดินไหวที่เกิดขึ้นในประเทศไทยและใกล้เคียง ในขอบเขตตั้งแต่เส้นเมริเดียนที่ 97 ถึง 106 องศาตะวันออก และตั้งแต่เส้นขนานที่ 5 ถึง 20 องศาเหนือ ซึ่งอาจเป็นแผ่นดินไหวขนาดเล็กที่ไม่ได้แสดงตามแบ่งรายเดือนด้านล่าง โดยเป็นข้อมูลที่รายงานโดยกองเฝ้าระวังแผ่นดินไหว กรมอุตุนิยมวิทยา

แผนที่ประเทศไทย
Slentee/กระบะทราย
Slentee/กระบะทราย
Slentee/กระบะทราย
Slentee/กระบะทราย
Slentee/กระบะทราย
Slentee/กระบะทราย
Slentee/กระบะทราย
Slentee/กระบะทราย
Slentee/กระบะทราย
Slentee/กระบะทราย
Slentee/กระบะทราย
Slentee/กระบะทราย
Slentee/กระบะทราย
Slentee/กระบะทราย
Slentee/กระบะทราย
Slentee/กระบะทราย
Slentee/กระบะทราย
Slentee/กระบะทราย
Slentee/กระบะทราย
Slentee/กระบะทราย
Slentee/กระบะทราย
Slentee/กระบะทราย
Slentee/กระบะทราย
Slentee/กระบะทราย
Slentee/กระบะทราย
Slentee/กระบะทราย
Slentee/กระบะทราย
Slentee/กระบะทราย
Slentee/กระบะทราย
Slentee/กระบะทราย
Slentee/กระบะทราย
Slentee/กระบะทราย
Slentee/กระบะทราย
Slentee/กระบะทราย
Slentee/กระบะทราย
Slentee/กระบะทราย
Slentee/กระบะทราย
Slentee/กระบะทราย
Slentee/กระบะทราย
Slentee/กระบะทราย
Slentee/กระบะทราย
Slentee/กระบะทราย
Slentee/กระบะทราย
Slentee/กระบะทราย
Slentee/กระบะทราย
Slentee/กระบะทราย
Slentee/กระบะทราย
Slentee/กระบะทราย
Slentee/กระบะทราย
Slentee/กระบะทราย
Slentee/กระบะทราย
Slentee/กระบะทราย
Slentee/กระบะทราย
Slentee/กระบะทราย
Slentee/กระบะทราย
Slentee/กระบะทราย
Slentee/กระบะทราย
Slentee/กระบะทราย
Slentee/กระบะทราย
Slentee/กระบะทราย

มกราคม

[แก้]
วันที่ เวลา
(ICT)
สถานที่ ขนาด
(Mw)
ความลึก
(กม.)
หมายเหตุ
3[11] 08:38:08 อำเภอแม่สรวย จังหวัดเชียงราย 2.0 5.0 -
8[12] 11:34:53 อำเภอเทิง จังหวัดเชียงราย 2.0 1.0 -
10[13] 14:09:06 อำเภอศรีสวัสดิ์ จังหวัดกาญจนบุรี 3.3 5.0 -
14[14] 22:22:50 อำเภอเด่นชัย จังหวัดแพร่ 2.1 2.0 -
15[15] 17:09:40 อำเภอวังชิ้น จังหวัดแพร่ 2.2 2.0 -
15[16] 22:53:57 อำเภอแม่สรวย จังหวัดเชียงราย 2.1 3.0 -
16[17] 07:34:39 อำเภอแม่สรวย จังหวัดเชียงราย 1.6 2.0 -
17[18] 17:48:15 อำเภอศรีสวัสดิ์ จังหวัดกาญจนบุรี 2.1 1.0 -
18[19] 04:23:48 อำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ 2.0 3.0 -
18[20] 21:19:06 อำเภอแม่สรวย จังหวัดเชียงราย 1.5 7.0 -
19[21] 03:01:20 อำเภอท่าสองยาง จังหวัดตาก 2.1 2.0 -
19[22] 18:26:47 อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 1.9 2.0 -
20[23] 08:00:50 อำเภอศรีสวัสดิ์ จังหวัดกาญจนบุรี 2.2 2.0 -
22[24] 23:00:50 อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 3.2 2.0 -
24[25] 00:12:32 ประเทศพม่า ห่างจากอำเภอปางมะผ้าไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือประมาณ 99 กม. 2.6 1.0 -
25[26] 23:20:38 อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 1.7 10.0 -
25[27] 23:32:52 อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 1.6 11.0 -
27[28] 01:04:48 อำเภอท่าสองยาง จังหวัดตาก 3.1 13.0 -
27[29] 22:05:44 อำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ 1.8 2.0 -
28[30] 23:05:42 อำเภอแม่ลาว จังหวัดเชียงราย 1.7 3.0 -
29[31] 23:05:42 อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 2.6 2.0 -





ครน ไวรัส

[แก้]
ไฟล์:Top 20 flight routes from Wuhan with data on IDVI for each country.jpeg
20 เส้นทางบินสูงสุดจากเมืองอู่ฮั่นพร้อมข้อมูลดัชนีความไวติดเชื้อโรค (IDVI) ของแต่ละประเทศ

การวิเคราะห์รูปแบบการเดินทางทางอากาศถูกนำมาใช้เพื่อทำแผนที่และทำนายรูปแบบการแพร่ระบาด และถูกตีพิมพ์ลงใน วารสารการแพทย์ท่องเที่ยว (Journal of Travel Medicine) ในกลางเดือนมกราคม พ.ศ. 2563 โดยข้อมูลจากสมาคมขนส่งทางอากาศระหว่างประเทศ (2561) พบว่ากรุงเทพมหานคร ฮ่องกง โตเกียว และไทเปเป็นฐานใหญ่ที่สุดของนักเที่ยงเที่ยวจากเมืองอู่ฮั่น ส่วนดูไบ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ และซิดนีย์กับเมลเบิร์น ออสเตรเลียเป็นจุดหมายยอดนิยมสำหรับนักท่องเที่ยวจากเมืองอู่ฮั่น และมีการใช้ข้อมูลที่ตรวจสอบแล้วอย่างดัชนีความไวติดเชื้อโรค (Infectious Disease Vulnerability Index; IDVI) เพื่อประเมินความสามารถในการจัดการกับโรคที่คุกคาม โดยผลปรากฏว่าบาหลีเป็นเมืองที่มีความพร้อมรับมือน้อยที่สุด และเมืองในออสเตรเลียเป็นเมืองที่มีความพร้อมรับมือที่สุด[32][33][34]




แหล่งจากสัตว์ป่าตามธรรมชาติของไวรัส 2019‐nCoV และตัวถูกเบียนชั้นกลาง (intermediate host) ที่ส่งผ่านไวรัส 2019‐nCoV มายังมนุษย์นั้นยังไม่ได้รับการยืนยัน และทำให้ผลของการสุ่มตัวอย่างสัตว์จากตลากนั้นยังไม่พร้อมในขณะนี้[35] วันที่ 22 มกราคม พ.ศ. 2563 นักวิทยาศาสตร์จากมหาวิทยาลัยปักกิ่ง, มหาวิทยาลัยแพทย์แผนจีนกว่างซี, มหาวิทยาลัยหนิงปัว และวิทยาลัยวิศวกรรมชีววิทยาอู่ฮั่น ได้เผยแพร่บทความ ซึ่งหลังจากพิจารณาที่ "มนุษย์, ค้างคาว, ไก่, เม่น, นิ่ม และงูอีกสองสปีชีส์"[36] แล้วได้ข้อสรุปว่า "ไวรัส 2019‐nCoV ดูเหมือนจะเป็นไวรัสสายผสม (recombinant virus) ระหว่างโคโรนาไวรัสของค้างตาว และโคโรนาไวรัสที่ไม่ทราบต้นกำเนิดอีกชนิดหนึ่ง" ...และ... "งูเป็นแหล่งสัตว์ป่าที่น่าจะเป็นไปได้มากที่สุดสำหรับ 2019‐nCoV" ซึ่งจากนั้นได้มีการแพร่เชื้อต่อไปยังมนุษย์[37][36][38] และยังมีการแนะนำจากบุคคลอื่น ๆ ว่าไวรัส 2019‐nCoV นั้นเป็นผลมากจากการพัฒนาของ "ไวรัสจากค้างคาวและงูผสมกัน"[37][36][38][39] ขณะที่มีบางส่วนโต้แย้งงานตีพิมพ์จากปักกิ่งนี้ และกลายเป็นที่ถกเถียงกันว่าแหล่งนั้นจะต้องเป็นค้างคาว และตัวถูกเบียนชั้นกลางจะต้องเป็นนกหรือสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม ไม่ใช่งู[39][40]

งานวิจัยฉบับร่าง (preprint) ซึ่งเป็นฉบับปรับปรุงที่เผยแพร่เมื่อวันที่ 23 มกราคม พ.ศ. 2563 บน bioRxiv จากสมาชิกของสถาบันวิทยาไวรัสอู่ฮั่น, โรงพยาบาลจินหยินทันอู่ฮั่น, มหาวิทยาลัยแห่งสถาบันวิทยาศาสตร์จีน และศูนย์ควบคุมและป้องกันโรคมณฑลหูเป่ย์ เสนอว่าโคโรนาไวรัสสายพันธุ์ใหม่ 2019 มีความเป็นไปได้ที่จะมีต้นกำเนิดจากค้างคาว ดังที่ผลการวิเคราะห์ได้แสดงว่า nCoV-2019 มีความเหมือน 96% ในระดับจีโนมทั้งหมดกับโคโรนาไวรัสของค้างคาว[41]

การศึกษายันยันว่าไวรัส nCoV-2019 เข้าสู่มนุษย์ผ่านตัวรับ ACE 2 เช่นเดียวกันกับกรณีของไวรัสโรคซาร์ส[42][43]



ลำดับของเบตาโคโรนาไวรัสอู่ฮั่นแสดงความคล้ายคลึงกับเบตาโคโรนาไวรัส (Betacoronavirus) ที่พบในค้างคาว อย่างไรก็ตาม ตัวไวรัสมีความแตกต่างทางพันธุกรรมจากโคโรนาไวรัสตัวอื่น เช่น กลุ่มอาการทางเดินหายใจเฉียบพลันรุนแรง (ซาร์ส) และโคโรนาไวรัสที่เกี่ยวข้องกับโรคระบบทางเดินหายใจตะวันออกกลาง (เมอร์ส)[44] โดยไวรัสนี้เป็นสมาชิกของ Beta-CoV สาย B เช่นเดียวกับ SARS-CoV[45]

ห้าจีโนมของโคโรนาไวรัสสายพันธุ์ใหม่ที่ได้รับการแยกเดี่ยว (isolated) และมีรายงานแล้ว ประกอบด้วย BetaCoV/Wuhan/IVDC-HB-01/2019, BetaCoV/Wuhan/IVDC-HB-04/2020, BetaCoV/Wuhan/IVDC-HB-05/2019, BetaCoV/Wuhan/WIV04/2019, และ BetaCoV/Wuhan/IPBCAMS-WH-01/2019 จากศูนย์ป้องกันและควบคุมโรคแห่งจีน (CCDC), สถาบันชีววิทยาจุลชีพก่อโรค และโรงพยาบาลอู่ฮั่นจินหยินทัน[44][46][47] ลำดับอาร์เอ็นเอของไวรัสนี้มีความยาวประมาณ 30 kbp (kilo base pairs, กิโลคู่เบส)[44]


จากเนื้อหาที่ตีพิมพ์ใน The Lancet เมื่อวันที่ 24 มกราคม พ.ศ. 2563 ผู้ป่วย 41 รายแรกที่มีผลรายงานยืนยันทางห้องปฏิบัติการว่าติดเชื้อ 2019-nCoV นั้น มีรายงานวันที่มีอาการวันแรกสุดคือเมื่อวันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2562 ในบุคคลที่ไม่ได้มีการสัมผัสกับตลาดหรือผู้ได้รับผลกระทบอีก 40 คน และขณะที่จำนวนผู้ป่วยทุติยภูมิและตติยภูมิเพิ่มขึ้น ทำให้ความสำคัญของตลาดในประเทศจีนเริ่มลดลง[48][49] ตามที่แดเนียล อาร์ ลูซีย์แห่งมหาวิทยาลัยจอร์จทาวน์กล่าวไว้ ผู้ติดเชื้อรายแรกจะต้องเกิดขึ้นในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2562 หรืออาจก่อนหน้านั้น[50][51]

พันธุกรรม ต้นกำเนิด แหล่งรวม และตัวถูกเบียนส่งผ่าน

[แก้]
ข้อมูลด้านจีโนม
การจัดระเบียบจีโนม (คลิกเพื่อขยาย)
รหัสจีโนมของ NCBIMN908947
ขนาดจีโนม30473 bp
ปีที่ทำเสร็จ2020

แหล่งรวมซึ่งเป็นสัตว์ป่าตามธรรมชาติของ 2019‐nCoV และตัวถูกเบียนชั้นกลาง (intermediate host) ที่ส่งผ่านไวรัส 2019‐nCoV มายังมนุษย์นั้นยังไม่ได้รับการยืนยัน และทำให้ผลของการสุ่มตัวอย่างสัตว์จากตลากนั้นยังไม่พร้อมในขณะนี้[35] อย่างไรก็ตาม เป็นไปได้ว่าแหล่งรวมหลักของไวรัสคือค้างคาว[52]

งานวิจัยฉบับร่าง (preprint) ซึ่งเป็นฉบับปรับปรุงที่เผยแพร่เมื่อวันที่ 23 มกราคม พ.ศ. 2563 บน bioRxiv จากสมาชิกของสถาบันวิทยาไวรัสอู่ฮั่น, โรงพยาบาลจินหยินทันอู่ฮั่น, มหาวิทยาลัยแห่งสถาบันวิทยาศาสตร์จีน และศูนย์ควบคุมและป้องกันโรคมณฑลหูเป่ย์ เสนอว่าโคโรนาไวรัสสายพันธุ์ใหม่ 2019 มีความเป็นไปได้ที่จะมีต้นกำเนิดจากค้างคาว ดังที่ผลการวิเคราะห์ได้แสดงว่า nCoV-2019 มีความเหมือน 96% ในระดับจีโนมทั้งหมดกับโคโรนาไวรัสของค้างคาวที่ได้ระบุไว้เมื่อปี พ.ศ. 2556[41]

รายงานที่ถูกตีพิมพ์ก่อนหน้านั้นหนึ่งวันจากมหาวิทยาลัยปักกิ่ง, มหาวิทยาลัยแพทย์แผนจีนกว่างซี, มหาวิทยาลัยหนิงปัว และวิทยาลัยวิศวกรรมชีววิทยาอู่ฮั่น ได้เปรียบเทียบเส้นทแยงการใช้โคดอน (codon usage bias) ของ 2019-nCoV กับ "มนุษย์, ค้างคาว, ไก่, เม่น, นิ่ม และงูอีกสองสปีชีส์"[36] แล้วได้ข้อสรุปว่า "งูเป็นแหล่งรวมซึ่งเป็นสัตว์ป่าที่เป็นไปได้มากที่สุดสำหรับ 2019‐nCoV" ซึ่งจากนั้นได้มีการแพร่เชื้อต่อไปยังมนุษย์[37][36][38] การกล่าวอ้างนี้ได้รับการโต้แย้งอย่างกว้างขวาง บางส่วนแย้งว่าแหล่งรวมจะต้องเป็นค้างคาวและตัวถูกเบียนชั้นกลางจะต้องเป็นนกหรือสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม ไม่ใช่งู (เนื่องจากงูเป็น Poikilotherm ไม่เหมือนกับมนุษย์)[39][39][53] ขณะที่บางส่วนใช้ข้อมูลเกี่ยวกับการผสมสาย (recombination) และเส้นทแยงการใช้โคดอนของซาร์สและเมอร์สมาหักล้างเหตุผล โดยการผสมสายที่กล่าวถึงนั้นอาจเกิดขึ้นค้างคาวแทน[54]

การศึกษาทางวงศ์วานวิวัฒนาการของ 2019-nCoV ได้ตรวจสอบประวัติการวิวัฒนาการของไวรัสและความสัมพันธ์กับสิ่งมีชีวิตอื่น ในบรรดาสมาชิกทั้งเจ็ดของวงศ์โคโรนาไวรัสที่สามารถติดสู่มนุษย์ได้ มีรายงานว่า 2019-nCoV มีลำดับจีโนมเหมือนกับ SARS-CoV ร้อยละ 75 ถึง 80 และมีความคล้ายคลึงกับบรรดาโคโรนาไวรัสในค้างคาวมากกว่า[55][52] โดยมีจีโนมของโคโรนาไวรัสสายพันธุ์ใหม่อย่างน้อยห้าจีโนมถูกแยกและรายงานแล้ว[44][56][57] สิ่งเหล่านี้แสดงให้เห็นว่าตัวไวรัสนั้นมีความแตกต่างทางพันธุกรรมจากโคโรนาไวรัสอื่น ๆ ที่รู้จักกัน เช่น โคโรนาไวรัสที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มอาการทางเดินหายใจเฉียบพลันรุนแรง (SARS-CoV) และโคโรนาไวรัสที่เกี่ยวข้องกับโรคระบบทางเดินหายใจตะวันออกกลาง (MERS-CoV)[44] และไวรัสนี้เป็นสมาชิกของสาย B (lineage B) เช่นเดียวกันกับไวรัส SARS-CoV[58]

1บาท

[แก้]

การศึกษาวิทยาการระบาดของ 2019-nCoV ได้ตรวจสอบการกระจาย (ใคร เมื่อไหร่ และที่ไหน) รูปแบบ และปัจจัยเสี่ยง และมีการประมาณการค่าสำหรับค่าระดับการติดเชื้อพื้นฐานอยู่ระหว่าง 2.13[59] ถึง 3.11[60][61][62]

ตามที่แดเนียล อาร์ ลูซีย์แห่งมหาวิทยาลัยจอร์จทาวน์ได้กล่าวไว้ มนุษย์ที่ติดเชื้อคนแรกจะต้องเกิดขึ้นในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2562 หรืออาจก่อนหน้านั้น[63] ผู้ต้องสงสัยชุดแรก 59 คนเมื่อสิ้นเดือนธันวาคม พ.ศ. 2562 และต้นเดือนมกราคม พ.ศ. 2563 เข้ารับการรักษาที่โรงพยาบาลจินหยินทัน โดยมีการแยกบริบาลพิเศษในเหล่าผู้ต้องสงสัย 41 คนจาก 59 คนได้รับการยืนยันว่าติดเชื้อ 2019-nCoV จากทั้งหมด 41 คน มีสมาชิกของครอบครัวอยู่กลุ่มหนึ่ง โดย 30 (73%) คนเป็นผู้ชายและมีอายุเฉลี่ย 49 ปี เกือบหนึ่งในสาม (32%) มีภาวะทางการแพทย์เป็นพื้นฐานอยู่แล้ว ได้แก่ โรคเบาหวาน 8 คน ความดันโลหิตสูง 6 คน และโรคหัวใจ 6 คน สองในสามมีประวัติเคยเดินทางไปตลาดอาหารทะเลหฺวาหนัน อาการพบบ่อยสุด คือ 40 คน (98%) มีไข้, 31 คน (76%) มีอาการไอ และ 18 คน (44%) มีอาการปวดกล้ามเนื้อและล้า ส่วนอาการที่พบน้อย คือ ไอแบบมีเสมหะหรือมีเลือด, ปวดศีรษะ และท้องเสีย ประมาณครึ่งหนึ่งของกลุ่มผู้ติดเชื้อมีอาการหายใจลำบาก และมี 13 คนต้องรับการรักษาในหน่วยอภิบาล (ICU) จากการทำซีที สแกนพบว่าทั้ง 41 คนแสดงอาการของโรคปอกอักเสบ และมีภาวะแทรกซ้อนบางอย่างด้วย ได้แก่ 12 คนมีอาการกลุ่มอาการหายใจลำบากเฉียบพลัน, 6 คนมีอาการ RNAemia, 5 คนมีอาการโรคหัวใจขาดเลือดเฉพาะที่ (Coronary ischemia) และ 4 คนมีอาการติดเชื้อทุติยภูมิ[49]


วันที่ 17 มกราคม นักวิทยาศาสตร์สหราชอาณาจักรได้รายงานว่าจำนวนผู้ติดเชื้อจริงควรจะอยู่ที่ประมาณ 1,723 คน เมื่ออาการเริ่มปรากฏในวันที่ 12 มกราคม เป็นไปตามรูปแบบการแพร่ระบาดเริ่มแรกสู่ประเทศไทยและญี่ปุ่น และยังบอกอีกด้วยว่า "ไม่ควรตัดความคิดเรื่องการแพร่จากมนุษย์สู่มนุษย์ออก"[64][65] ดังที่เคยมีการยืนยันไว้ขณะปรากฏการระบาดขึ้น เมื่อมีจำนวนผู้ป่วยมากขึ้น จึงมีการคำนวณใหม่โดยระบุว่า "มีผู้ติดเชื้อ 2019-nCoV จำนวน 4,000 รายในนครอู่ฮั่น... โดยเริ่มมีอาการในวันที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2563"[66][67] ขณะที่ข้อสรุปจากกลุ่มมหาวิทยาลัยฮ่องกงนั้นคล้ายกันกับการศึกษาก่อนหน้านี้ พร้อมรายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับการแพร่ในประเทศจีน[68]

วันที่ 20 มกราคม ทางการจีนรายงานว่าพบผู้ป่วยรายใหม่เพิ่มขึ้นเกือบ 140 คน รวมไปถึงในปักกิ่งจำนวนสองคน และเซินเจิ้นจำนวนหนึ่งคน[69] วันที่ 25 มกราคม พ.ศ. จำนวนผู้ติดเชื้อที่ยืนยันทางห้องปฏิบัติการแล้วอยู่ที่ 2,035 คน ประกอบด้วย จีนแผ่นดินใหญ่ 1,989 คน, ประเทศไทย 7 คน, ฮ่องกง 5 คน, มาเก๊า 5 คน, ประเทศออสเตรเลีย 4 คน, ประเทศมาเลเซีย 4 คน, ประเทศสิงคโปร์ 4 คน, ประเทศฝรั่งเศส 3 คน, ประเทศญี่ปุ่น 3 คน, ประเทศเกาหลีใต้ 3 คน, ไต้หวัน 3 คน, ประเทศเวียดนาม 2 คน, ประเทศสหรัฐ 2 คน และประเทศเนปาล 1 คน[70][71]

มีการคาดว่าเกิดซูเปอร์สเปรดเดอร์เกิดขึ้นหลายครั้งโดยผู้เชี่ยวชาญและสื่อ เชื่อว่ามีผู้ป่วยที่เป็นซูเปอร์สเปรดเดอร์แพร่กระจายอย่างรวดเร็ว โดยมีรายงานว่ามีการติดเชื้อเจ้าหน้าที่ทางการแพทย์ 14 คน วันที่ 25 มกราคม เกา ฝู ผู้อำนวยการศูนย์ป้องกันและควบคุมโรคแห่งจีน ปฏิเสธข้อคาดการณ์เหล่านั้นและ "เพิกเฉยต่อการรายงานของสื่อ" ตามรายงานทางการของสำนักข่าวซินหัว[72] อย่างไรก็ตาม China Newsweek ซึ่งดำเนินการโดยสำนักข่าวอย่างเป็นทางการของบริการข่าวจีน อ้างอิงผู้เชี่ยวชาญจากมหาวิทยาลัยปักกิ่ง อ้างว่าผู้ป่วยดังกล่าวอาจถือเป็นซูเปอร์สเปรดเดอร์ได้แล้ว และวิพากษ์วิจารณ์โรงพยาบาลที่เกี่ยวข้องว่าไม่ได้มีการป้องกันเจ้าหน้าที่ที่ดำเนินการกับผู้ป่วยอย่างเหมาะสม China Newsweek ยังวิพากษ์วิจารณ์การเซ็นเซอร์ของรัฐบาลจีน ที่บอกว่าแพทย์และพยาบาลทุกคน ยกเว้นผู้ที่มีไข้นั้น "ไม่ต้องมีเครื่องป้องกันใด ๆ นอกจากหน้ากากอนามัย" เพื่อป้องกันตัวเอง[73]

อัตราตายของ 2019-nCoV นั้นน้อยกว่า 5% เมื่อเทียบกับ 9.5% ของโรคซาร์สเมื่อปี พ.ศ. 2546/2547 และ 34.5% ของโรคเมอร์สเมื่อปี พ.ศ. 2555[74]

คถี่

[แก้]
ความถี่ขบวนรถรถไฟฟ้าสายสีน้ำเงิน (นาที:วินาที)
วัน/เวลา
06:00
07:00
08:00
09:00
10:00
11:00
12:00
13:00
14:00
15:00
16:00
17:00
18:00
19:00
20:00
21:00
22:00
23:00
24:00
วันจันทร์–วันศุกร์ 5:00 3:29 6:30 5:00 3:50 7:15

ทูต

[แก้]

การอพยพนักการทูตและพลเมืองต่างชาติออกจากอู่ฮั่น

[แก้]

รัฐบาลของเบลเยียม ไทย และสหรัฐ มีการวางแผนเตรียมเที่ยวบินอพยพสำหรับพลเมืองของชาตินั้น ๆ[75][76][77][78] ขณะที่ออสเตรเลีย บราซิล เช็กเกีย ฝรั่งเศส ปากีสถาน อินเดีย ญี่ปุ่น ฟิลิปปินส์ และรัสเซีย ก็กำลังพิจารณามาตรการที่คล้ายกันนี้[79][80][81][82][83][84]

ศรีลังกาเริ่มส่งนักเรียนชาวศรีลังกาในประเทศจีนกลับประเทศ[85] พม่าเริ่มส่งนักเรียนชาวพม่าจำนวนห้าสิบคนออกจากนครอู่ฮั่น[86]

เวียดนามได้รับอนุญาตให้นำเที่ยวบินพิเศษสี่เที่ยวพาผู้โดยสารชาวอู่ฮั่นกลับบ้านเกิดในช่วงวันที่ 24-27 มกราคม[87] และจัดเที่ยวบินเพื่ออพยพพลเมืองและนักการทูต[88]

วันที่ 29 มกราคม ออสเตรเลียและนิวซีแลนด์ ประกาศว่าจะร่วมมือกันเพื่ออพยพพลเมืองของทั้งสองประเทศออกจากนครอู่ฮั่น ในนครอู่ฮั่นมีชาวนิวซีแลนด์อยู่ 50-82 คน และมีชาวออสเตรเลียอยู่ในมณฑลหูเป่ย์ 600 คน รวมถึงเด็กจำนวน 140 คนในนครอู่ฮั่น[89][90]

  1. http://www.jma.go.jp/en/typh/1516.html
  2. http://www.usno.navy.mil/NOOC/nmfc-ph/RSS/jtwc/warnings/wp1715web.txt
  3. http://www.metalarm.tmd.go.th/monitor/typhoon
  4. http://www.jma.go.jp/en/typh/1516.html
  5. http://www.usno.navy.mil/NOOC/nmfc-ph/RSS/jtwc/warnings/wp1715web.txt
  6. http://www.metalarm.tmd.go.th/monitor/typhoon
  7. https://www.jma.go.jp/en/typh/1901.html
  8. http://www.metoc.navy.mil/jtwc/products/wp3618web.txt
  9. http://www.metalarm.tmd.go.th/monitor/typhoon
  10. http://www.jma.go.jp/en/typh/1516.html
  11. "แผ่นดินไหวขนาด 2.0 อำเภอแม่สรวย จังหวัดเชียงราย". earthquake.tmd.go.th. สืบค้นเมื่อ 2019-01-16.
  12. "แผ่นดินไหวขนาด 2.0 อำเภอเทิง จังหวัดเชียงราย". earthquake.tmd.go.th. สืบค้นเมื่อ 2019-01-16.
  13. "แผ่นดินไหวขนาด 3.3 อำเภอศรีสวัสดิ์ จังหวัดกาญจนบุรี". earthquake.tmd.go.th. สืบค้นเมื่อ 2019-01-16.
  14. "แผ่นดินไหวขนาด 2.1 อำเภอเด่นชัย จังหวัดแพร่". earthquake.tmd.go.th. สืบค้นเมื่อ 2019-01-16.
  15. "แผ่นดินไหวขนาด 2.2 อำเภอวังชิ้น จังหวัดแพร่". earthquake.tmd.go.th. สืบค้นเมื่อ 2019-01-16.
  16. "แผ่นดินไหวขนาด 2.1 อำเภอแม่สรวย จังหวัดเชียงราย". earthquake.tmd.go.th. สืบค้นเมื่อ 2019-01-16.
  17. "แผ่นดินไหวขนาด 1.6 อำเภอแม่สรวย จังหวัดเชียงราย". earthquake.tmd.go.th. สืบค้นเมื่อ 2019-01-16.
  18. "แผ่นดินไหวขนาด 2.1 อ.ศรีสวัสดิ์ จ.กาญจนบุรี". earthquake.tmd.go.th. สืบค้นเมื่อ 2019-01-24.
  19. "แผ่นดินไหวขนาด 2.0 อ.แม่แจ่ม จ.เชียงใหม่". earthquake.tmd.go.th. สืบค้นเมื่อ 2019-01-24.
  20. "แผ่นดินไหวขนาด 1.5 อ.แม่สรวย จ.เชียงราย". earthquake.tmd.go.th. สืบค้นเมื่อ 2019-01-24.
  21. "แผ่นดินไหวขนาด 2.1 อ.ท่าสองยาง จ.ตาก". earthquake.tmd.go.th. สืบค้นเมื่อ 2019-01-24.
  22. "แผ่นดินไหวขนาด 1.9 อ.สันทราย จ.เชียงใหม่". earthquake.tmd.go.th. สืบค้นเมื่อ 2019-01-24.
  23. "แผ่นดินไหวขนาด 2.2 อ.ศรีสวัสดิ์ จ.กาญจนบุรี". earthquake.tmd.go.th. สืบค้นเมื่อ 2019-01-24.
  24. "แผ่นดินไหวขนาด 3.2 อ.สันทราย จ.เชียงใหม่". earthquake.tmd.go.th. สืบค้นเมื่อ 2019-01-24.
  25. "แผ่นดินไหวขนาด 2.6 ประเทศพม่า". earthquake.tmd.go.th. สืบค้นเมื่อ 2019-01-24.
  26. "แผ่นดินไหวขนาด 1.7 อ.สันทราย จ.เชียงใหม่". earthquake.tmd.go.th. สืบค้นเมื่อ 2019-04-03.
  27. "แผ่นดินไหวขนาด 1.6 อ.สันทราย จ.เชียงใหม่". earthquake.tmd.go.th. สืบค้นเมื่อ 2019-04-03.
  28. "แผ่นดินไหวขนาด 3.1 อ.ท่าสองยาง จ.ตาก". earthquake.tmd.go.th. สืบค้นเมื่อ 2019-04-03.
  29. "แผ่นดินไหวขนาด 1.8 อ.แม่แจ่ม จ.เชียงใหม่". earthquake.tmd.go.th. สืบค้นเมื่อ 2019-04-03.
  30. "แผ่นดินไหวขนาด 1.7 อ.แม่ลาว จ.เชียงราย". earthquake.tmd.go.th. สืบค้นเมื่อ 2019-04-03.
  31. "แผ่นดินไหวขนาด 2.6 อ.สันทราย จ.เชียงใหม่". earthquake.tmd.go.th. สืบค้นเมื่อ 2019-04-03.
  32. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ Schnirring14Jan2020
  33. Bogoch, Isaac I.; Watts, Alexander; Thomas-Bachli, Andrea; Huber, Carmen; Kraemer, Moritz U. G.; Khan, Kamran (14 January 2020). "Pneumonia of Unknown Etiology in Wuhan, China: Potential for International Spread Via Commercial Air Travel" (PDF). Journal of Travel Medicine (ภาษาอังกฤษ). doi:10.1093/jtm/taaa008.
  34. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ wuhan20Jan2020
  35. 35.0 35.1 Liu, Shan-Lu; Saif, Linda (22 January 2020). "Emerging Viruses without Borders: The Wuhan Coronavirus". Viruses. 12 (2): 130. doi:10.3390/v12020130. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่สมเหตุสมผล มีนิยามชื่อ "Liu22Jan2020" หลายครั้งด้วยเนื้อหาต่างกัน
  36. 36.0 36.1 36.2 36.3 36.4 Hamzelou, Jessica. "Wuhan coronavirus may have been transmitted to people from snakes". New Scientist. สืบค้นเมื่อ 24 January 2020. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่สมเหตุสมผล มีนิยามชื่อ "Hamzelou" หลายครั้งด้วยเนื้อหาต่างกัน
  37. 37.0 37.1 37.2 Haitao Guo, Guangxiang "George" Luo, Shou-Jiang Gao (22 January 2020). "Snakes Could Be the Original Source of the New Coronavirus Outbreak in China". Scientific American. สืบค้นเมื่อ 24 January 2020.{{cite web}}: CS1 maint: url-status (ลิงก์) CS1 maint: uses authors parameter (ลิงก์) อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่สมเหตุสมผล มีนิยามชื่อ "Guo22Jan2020" หลายครั้งด้วยเนื้อหาต่างกัน
  38. 38.0 38.1 38.2 Ji, Wei; Wang, Wei; Zhao, Xiaofang; Zai, Junjie; Li, Xingguang (22 January 2020). "Homologous recombination within the spike glycoprotein of the newly identified coronavirus may boost cross‐species transmission from snake to human". Journal of Medical Virology. doi:10.1002/jmv.25682. สืบค้นเมื่อ 22 January 2020. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่สมเหตุสมผล มีนิยามชื่อ "JI22Jan2020" หลายครั้งด้วยเนื้อหาต่างกัน
  39. 39.0 39.1 39.2 39.3 Callaway, Ewen; Cyranoski, David (23 January 2020). "Why snakes probably aren't spreading the new China virus". Nature. doi:10.1038/d41586-020-00180-8. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่สมเหตุสมผล มีนิยามชื่อ "Cyranoski23Jan2020" หลายครั้งด้วยเนื้อหาต่างกัน
  40. Multeni, Megan (23 January 2020). "No, the Wuhan Virus Is Not a 'Snake Flu'". Wired. สืบค้นเมื่อ 24 January 2020.
  41. 41.0 41.1 "Discovery of a novel coronavirus associated with the recent pneumonia outbreak in humans and its potential bat origin". bioRxiv. bioRxiv. 23 January 2020. สืบค้นเมื่อ 24 January 2020. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่สมเหตุสมผล มีนิยามชื่อ "bioRxivBatOrigin" หลายครั้งด้วยเนื้อหาต่างกัน
  42. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ Schnirring23Jan2020
  43. Shi, Zheng-Li; Zhou, Peng; Yang, Xing-Lou; Wang, Xian-Guang; Hu, Ben; Zhang, Lei; Zhang, Wei; Si, Hao-Rui; Zhu, Yan; Li, Bei; Huang, Chao-Lin (23 January 2020). "Discovery of a novel coronavirus associated with the recent pneumonia outbreak in humans and its potential bat origin". bioRxiv: 2020.01.22.914952. doi:10.1101/2020.01.22.914952.
  44. 44.0 44.1 44.2 44.3 44.4 "Coronavirus". www.who.int (ภาษาอังกฤษ). เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 20 January 2020. สืบค้นเมื่อ 16 January 2020. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่สมเหตุสมผล มีนิยามชื่อ ":1" หลายครั้งด้วยเนื้อหาต่างกัน
  45. "Phylogeny of SARS-like betacoronaviruses". nextstrain. สืบค้นเมื่อ 18 January 2020.
  46. "Initial genome release of novel coronavirus". Virological (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). 11 January 2020. สืบค้นเมื่อ 12 January 2020.
  47. "Wuhan seafood market pneumonia virus isolate Wuhan-Hu-1, complete genome" (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). 2020-01-17. {{cite journal}}: Cite journal ต้องการ |journal= (help)
  48. Wang, Chen; Horby, Peter W.; Hayden, Frederick G.; Gao, George F. (2020-01-24). "A novel coronavirus outbreak of global health concern". The Lancet (ภาษาอังกฤษ). 0 (0). doi:10.1016/S0140-6736(20)30185-9. ISSN 0140-6736. PMID 31986257.
  49. 49.0 49.1 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ Huang24Jan2020
  50. Cohen, Jon (2020-01-26). "Wuhan seafood market may not be source of novel virus spreading globally". ScienceMag American Association for the Advancement of Science. (AAAS) (ภาษาอังกฤษ). เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-01-27. สืบค้นเมื่อ 2020-01-29.
  51. Eschner, Kat (2020-01-28). "We're still not sure where the Wuhan coronavirus really came from". Popular Science (ภาษาอังกฤษ). เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-01-29. สืบค้นเมื่อ 2020-01-30.
  52. 52.0 52.1 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ PerlmanJan2020
  53. Multeni, Megan (23 January 2020). "No, the Wuhan Virus Is Not a 'Snake Flu'". Wired. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 24 January 2020. สืบค้นเมื่อ 24 January 2020.
  54. Andersen, Kristian (24 January 2020). "nCoV-2019 codon usage and reservoir (not snakes v2)". Virological. สืบค้นเมื่อ 28 January 2020.
  55. Zhu, Na; Zhang, Dingyu; Wang, Wenling; Li, Xinwang; Yang, Bo; Song, Jingdong; Zhao, Xiang; Huang, Baoying; Shi, Weifeng; Lu, Roujian; Niu, Peihua (24 January 2020). "A Novel Coronavirus from Patients with Pneumonia in China, 2019". New England Journal of Medicine. United States. doi:10.1056/NEJMoa2001017. ISSN 0028-4793. PMID 31978945.
  56. "Initial genome release of novel coronavirus". Virological. 11 January 2020. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 12 January 2020. สืบค้นเมื่อ 12 January 2020.
  57. "Wuhan seafood market pneumonia virus isolate Wuhan-Hu-1, complete genome". 17 January 2020.
  58. "Phylogeny of SARS-like betacoronaviruses". nextstrain. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 20 January 2020. สืบค้นเมื่อ 18 January 2020.
  59. Leung, Gabriel; Wu, Joseph (27 January 2020). "Real-time nowcast and forecast on the extent of the Wuhan CoV outbreak, domestic and international spread" (PDF). Wuhan-coronavirus-outbreak AN UPDATE. สืบค้นเมื่อ 29 January 2020.
  60. Read, Jonathan M.; Bridgen, Jessica RE; Cummings, Derek AT; Ho, Antonia; Jewell, Chris P. (28 January 2020). "Novel coronavirus 2019-nCoV: early estimation of epidemiological parameters and epidemic predictions". MedRxiv: 2020.01.23.20018549. doi:10.1101/2020.01.23.20018549.
  61. "Updated estimates for #2019nCoV #coronavirus with improved model fitting and uncertainty estimation". Twitter. 28 January 2020.
  62. "Read et al nCoV-2019 early epidemic predictions v2.pdf" (PDF. A modern browser is required to access Google Docs.). Google Docs. สืบค้นเมื่อ 28 January 2020.
  63. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ auto1
  64. Gallagher, James (18 January 2020). "New Chinese virus 'will have infected hundreds'". BBC News (ภาษาอังกฤษแบบบริติช). เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 18 January 2020. สืบค้นเมื่อ 18 January 2020.
  65. Imai, Natsuko; Dorigatti, Ilaria; Cori, Anne; Riley, Steven; Ferguson, Neil M (17 January 2020). "Estimating the potential total number of novel Coronavirus cases in Wuhan City, China (report 1)" (PDF). Imperial College London (ภาษาอังกฤษแบบบริติช). เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 21 January 2020. สืบค้นเมื่อ 18 January 2020.
  66. Lisa Schnirring: WHO decision on nCoV emergency delayed as cases spike 23 January 2020 CIDRAP News, accessed 23 January 2020
  67. Imai, Natsuko; Dorigatti, Ilaria; Cori, Anne; Riley, Steven; Ferguson, Neil M (17 January 2020). "Estimating the potential total number of novel Coronavirus cases in Wuhan City, China (Report 2" (PDF). Imperial College London (ภาษาอังกฤษแบบบริติช). สืบค้นเมื่อ 18 January 2020.
  68. "HKUMed WHO Collaborating Centre for Infectious Disease Epidemiology and Control releases real-time nowcast on the likely extent of the Wuhan coronavirus outbreak, domestic and international spread with the forecast for chunyun". HKUMed School of Public Health (ภาษาอังกฤษแบบบริติช). สืบค้นเมื่อ 23 January 2020.
  69. China confirms sharp rise in cases of SARS-like virus across the country
  70. "Which countries have confirmed cases of new coronavirus?". www.aljazeera.com. สืบค้นเมื่อ 2020-01-26.
  71. "Singapore, Malaysia both report fourth confirmed coronavirus cases". South China Morning Post (ภาษาอังกฤษ). 2020-01-26. สืบค้นเมื่อ 2020-01-26.
  72. "China CDC head dismisses super-spreader media report". Xinhua News Agency. 25 January 2020. สืบค้นเมื่อ 25 January 2020.
  73. 还原"超级传播者"传染路径 武汉医生:疫情刚开始"整个不让说" [Restore the infection route for "super-spreader"s; "'Not allowed to speak anything' at the beginning of the outbreak," said Wuhan doctors]. China Newsweek (ภาษาชามอร์โร). qq.com. 25 January 2020. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 25 January 2020. สืบค้นเมื่อ 25 January 2020.
  74. Ricardo, Paul (29 January 2020). "Here's The Science on How Serious The Wuhan Coronavirus Outbreak Actually Is". Australia: ScienceAlert. Agence France-Pressse. สืบค้นเมื่อ 29 January 2020.
  75. NWS, VRT (27 January 2020). "België haalt landgenoten terug uit Chinese provincie Hubei na uitbraak coronavirus". vrtnws.be.
  76. "C130 aircraft on standby for Wuhan evacuation". Bangkok Post. 2020-01-26. สืบค้นเมื่อ 2020-01-26.
  77. Jiang, Steven; Stracqualursi, Veronica (2020-01-25). "US arranging charter flight to evacuate American diplomats and citizens out of China amid coronavirus outbreak, official says". CNN. สืบค้นเมื่อ 2020-01-27.
  78. "PH sending special flights to get Pinoys from Wuhan, Hubei in China". Tempo. 29 January 2020. สืบค้นเมื่อ 29 January 2020.
  79. Wise, Justin (2020-01-26). "State Department orders US employees in Wuhan to evacuate due to coronavirus". TheHill. สืบค้นเมื่อ 2020-01-26.
  80. "Embassy steps in, promises to evacuate Indian students of China's Wuhan University". www.thenewsminute.com. สืบค้นเมื่อ 2020-01-26.
  81. "Japan and US make plans to evacuate citizens from Wuhan". Nikkei Asian Review-GB. สืบค้นเมื่อ 2020-01-26.
  82. Doherty, Ben (2020-01-26). "Coronavirus: Australia considers evacuating citizens caught in China amid lockdown". The Guardian. ISSN 0261-3077. สืบค้นเมื่อ 2020-01-26.
  83. "Brasil diz que não pode tirar cidadãos de área com coronavírus, mas outros países têm planos para isso". G1. 28 January 2020. สืบค้นเมื่อ 28 January 2020.
  84. "Čeští studenti z Wu-chanu odletí francouzským speciálem - Novinky.cz". www.novinky.cz.
  85. "Repatriation of Sri Lankan students in China commences". www.adaderana.lk. สืบค้นเมื่อ 2020-01-27.
  86. "Sixty Myanmar Students to Be Evacuated From China as Coronavirus Spreads". The Irrawady. 27 January 2020. สืบค้นเมื่อ 28 January 2020.
  87. "Vietnam to fly last Wuhan visitors home". สืบค้นเมื่อ 2020-01-27.
  88. "Sẵn sàng chở công dân Việt Nam 'mắc kẹt' từ Vũ Hán về nước". สืบค้นเมื่อ 2020-01-27.
  89. "Wuhan coronavirus: Govt to team up with Australians to get NZers out of city". Radio New Zealand. 29 January 2020. สืบค้นเมื่อ 29 January 2020.
  90. Walls, Jason; Jancic, Boris (29 January 2020). "Coronavirus: New Zealand and Australia to evacuate citizens". New Zealand Herald. สืบค้นเมื่อ 29 January 2020.