ผู้ใช้:ยุทธนาสาระขันธ์/ทดลองเขียน11
วอลเลย์บอล
[แก้]วอลเลย์บอลหญิงรอบคัดเลือกโอลิมปิก 2023 กลุ่มซี ระหว่างวันที่ 16 - 24 กันยายน 2566 คัดเอา 2 ทีมจากทั้งหมด 8 ทีม
เทเบิลเทนนิส
[แก้]- 2024 World Team Table Tennis Championships – ทีมหญิง กำลังแข่งขัน (รอบ 32 ทีม)
- 2022 – ทีมหญิง (รอบแบ่งกลุ่ม)
กรีฑา
[แก้]- ภูริพล บุญสอน (บิว) (เกิด 13 มกราคม ค.ศ. 2006 ) ทำลายสถิติประเทศไทย วิ่ง 100 เมตรด้วยเวลา 10.19 วินาที ทำลายสถิติประเทศไทยของเหรียญชัย สีหะวงษ์ ที่ทำเอาไว้ 10.23 วินาที ในวัยเพียง 16 ปี และได้ทำลายสถิติประเทศไทยวิ่ง 200 เมตรด้วยเวลา 20.58 วินาที ของเหรียญชัย สีหะวงษ์ เช่นกันที่ทำไว้ 20.69 วินาที[1]
- Joshua Robert Atkinson (จอชชัว) ได้ 4 เหรียญทองจากซีเกมส์ 2021ในการแข่งขัน
- วิ่ง 400 เมตร
- วิ่ง 800 เมตร
- วิ่งผลัด 4x400 เมตร ชาย
- วิ่งผลัดผสม 4x400 เมตร
ว่ายน้ำ
[แก้]1.ต้นน้ำ กันตีมูล (หนุน) เยาวชนทีมชาติไทยทำสถิติประเทศไทย 2 รายการ คือ ฟรีสไตล์ 800 ม. ทำเวลาได้ 8.28.40 น. เป็นการทำลายในรอบ 18 ปี และทำสถิติกรรเชียง 200 ม. ทำเวลาได้ 2.07.23 น. ทำลายสถิติของ ต่อวัย เสฏฐโสธร ในรอบ 23 ปี กับทำลายสถิติประเทศไทย กรรเชียง 100 ม. ทำเวลาได้ 58.91 วินาที
2.รัฐวิทย์ ธรรมนันทโชติ (เป้) เยาวชนทีมชาติไทย ทำสถิติในรายการกรรเชียง 200 ม. ทำเวลาได้ 2.03.72 น.
3.จินห์จุฑา ผลแจ่มจำรัส (โมจิ) เยาวชนทีมชาติไทย ที่คว้าเหรียญเงินซีเกมส์ ครั้งที่ 29 ที่ฟิลิปปินส์ กรรเชียง 200 ม. ทำเวลาได้ 2.18.52 น. เป็นการทำลายสถิติของ "เงือกแหวน" ประพาฬสาย มินประพาฬ ในรอบ 27 ปี นอกจากนี้ยังทำลายสถิติประเทศไทย ผีเสื้อ 100 ม. ทำเวลาได้ 1.02.29 น. กับผีเสื้อ 200 ม. ทำเวลาได้ 2.14.66 น. และยังทำลายสถิติประเทศไทยในรายการฟรีสไตล์ 200 ม. ทำเวลาได้ 2.03.78 น., ทำลายสถิติประเทศไทยในรายการเดี่ยวผสม 200 ม. ทำเวลาได้ 2.17.77 น.
มอเตอร์ไซค์
[แก้]สมเกียรติ จันทรา (Somkiat Chantra) (ก้อง) ชนะเลิศ โมโต 2 จำนวน 2 รายการ คือ
- Indonesian motorcycle Grand Prix ในโมโต 2 ฤดูกาล 2022 เป็นการชนะเลิศครั้งแรกของสมเกียรติ และเป็นนักแข่งไทยคนแรกที่ได้แชมป์โมโต 2
- Japanese motorcycle Grand Prix ในโมโต 2 ฤดูกาล 2023
แบดมินตัน
[แก้]แชมป์ประเทศไทย
[แก้]ปี พ.ศ. | ประเภทชายเดี่ยว | ประเภทหญิงเดี่ยว | ประเภทชายคู่ | ประเภทหญิงคู่ | ประเภทคู่ผสม |
---|---|---|---|---|---|
2563 | กุลวุฒิ วิทิตศานต์ | พิทยาภรณ์ ไชยวรรณ | |||
2562 | สิทธิคมน์ ธรรมศิลป์ | บุศนันทน์ อึ๊งบำรุงพันธุ์ | |||
2561 | สิทธิคมน์ ธรรมศิลป์ | พรปวีณ์ ช่อชูวงศ์ | |||
2560 | กันตภณ หวังเจริญ | พรปวีณ์ ช่อชูวงศ์ | นิพิฐพนธ์ พวงพั่วเพชร / บดินทร์ อิสสระ | ทรัพย์สิรี แต้รัตนชัย / พุธิตา สุภจิรกุล | เดชาพล พัววรานุเคราะห์ / ทรัพย์สิรี แต้รัตนชัย |
โทมัสคัพ
[แก้]สถิติที่ดีที่สุดของทีมชาติไทย: รองชนะเลิศ ปี 1961
ปี 2020
[แก้]ชื่อ | วันเกิด/อายุ | อันดับเดี่ยว | อันดับคู่ |
---|---|---|---|
สัพพัญญู อวิหิงสานนท์ | 24 ตุลาคม ค.ศ. 1989 (อายุ 31 ปี) | 54 | |
เฉลิมพล เจริญกิจอมร | 15 เมษายน ค.ศ. 1997 (อายุ 24 ปี) | 414 | |
สุภัค จอมเกาะ | 4 กันยายน ค.ศ. 1996 (อายุ 25 ปี) | 153 | |
กิตตินุพงษ์ เกตุเรน | 19 กรกฎาคม ค.ศ. 1996 (อายุ 25 ปี) | 153 | |
อดุลรัชต์ นามกูล | 02 พฤศจิกายน ค.ศ. 1997 (อายุ 23 ปี) | 150 | |
เดชาพล พัววรานุเคราะห์ | 20 พฤษภาคม ค.ศ. 1997 (อายุ 24 ปี) | – | |
ณัฐพัฒน์ ตฤณขจี | 12 มิถุนายน ค.ศ. 2000 (อายุ 21 ปี) | 804 | |
วรท อุไรวงค์ | 9 พฤษภาคม ค.ศ. 2002 (อายุ 19 ปี) | 753 | |
ตนุภัทร วิริยางกูร | 10 มีนาคม ค.ศ. 1996 (อายุ 25 ปี) | 54 | |
กุลวุฒิ วิทิตศานต์ | 11 พฤษภาคม ค.ศ. 2001 (อายุ 20 ปี) | 25 | |
กันตภณ หวังเจริญ | 18 กันยายน ค.ศ. 1998 (อายุ 23 ปี) | 18 | |
นันทกานต์ ยอดไพสง | 23 กันยายน ค.ศ. 1993 (อายุ 28 ปี) | 414 |
ปี 2018
[แก้]ชื่อ | วันเกิด/อายุ | อันดับเดี่ยว | อันดับคู่ |
---|---|---|---|
สัพพัญญู อวิหิงสานนท์ | 24 ตุลาคม ค.ศ. 1989 (อายุ 28 ปี) | 27 | |
ติณณ์ อิสริยะเนตร | 7 กรกฎาคม ค.ศ. 1993 (อายุ 24 ปี) | 24 | |
กิตตินุพงษ์ เกตุเรน | 19 กรกฎาคม ค.ศ. 1996 (อายุ 21 ปี) | 33 | |
กิตติศักดิ์ นามเดช | 4 สิงหาคม ค.ศ. 1995 (อายุ 22 ปี) | 24 | |
โฆษิต เพชรประดับ | 9 กรกฎาคม ค.ศ. 1994 (อายุ 23 ปี) | 25 | |
นิพิฐพนธ์ พวงพั่วเพชร | 31 พฤษภาคม ค.ศ. 1991 (อายุ 26 ปี) | 27 | |
เดชาพล พัววรานุเคราะห์ | 20 พฤษภาคม ค.ศ. 1997 (อายุ 21 ปี) | 33 | |
ปัณณวิชญ์ ทองน่วม | 24 ธันวาคม ค.ศ. 1995 (อายุ 22 ปี) | 49 | |
ตนุภัทร วิริยางกูร | 10 มีนาคม ค.ศ. 1996 (อายุ 22 ปี) | 79 | |
กันตภณ หวังเจริญ | 18 กันยายน ค.ศ. 1998 (อายุ 19 ปี) | 36 |
อูเบอร์คัพ
[แก้]สถิติที่ดีที่สุดของทีมชาติไทย: รองชนะเลิศ ปี 2018
ปี 2020
[แก้]ชื่อ | วันเกิด/อายุ | อันดับเดี่ยว | อันดับคู่ |
---|---|---|---|
เบญญาภา เอี่ยมสอาด | 29 สิงหาคม ค.ศ. 2002 (อายุ 19 ปี) | 70 | 64 |
ณัฐกานต์ เอี่ยมสอาด | 23 พฤษภาคม ค.ศ. 1999 (อายุ 22 ปี) | 195 | 64 |
พิทยาภรณ์ ไชยวรรณ | 21 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2001 (อายุ 20 ปี) | 31 | 366 |
พรปวีณ์ ช่อชูวงศ์ | 22 มกราคม ค.ศ. 1998 (อายุ 23 ปี) | 10 | |
รัชนก อินทนนท์ | 5 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1995 (อายุ 26 ปี) | 6 | |
ศุภนิดา เกตุทอ | 26 ตุลาคม ค.ศ. 1997 (อายุ 23 ปี) | 33 | |
จงกลพรรณ กิติธรากุล | 1 มีนาคม ค.ศ. 1993 (อายุ 28 ปี) | 8 | |
บุศนันท์ อึ๊งบำรุงพันธ์ | 22 มีนาคม ค.ศ. 1996 (อายุ 25 ปี) | 13 | |
ศุภิสรา เพียวสามพราน | 18 พฤศจิกายน ค.ศ. 1999 (อายุ 21 ปี) | 179 | |
รวินดา ประจงใจ | 29 มิถุนายน ค.ศ. 1993 (อายุ 28 ปี) | 8 | |
พุธิตา สุภจิรกุล | 29 มีนาคม ค.ศ. 1996 (อายุ 25 ปี) | 22 | |
ทรัพย์สิรี แต้รัตนชัย | 18 เมษายน ค.ศ. 1992 (อายุ 29 ปี) | 22 |
ปี 2018
[แก้]ชื่อ | วันเกิด/อายุ | อันดับเดี่ยว | อันดับคู่ |
---|---|---|---|
ชญานิษฐ์ ฉลาดแฉลม | 8 มีนาคม ค.ศ. 1991 (อายุ 27 ปี) | 15 | |
พรปวีณ์ ช่อชูวงศ์ | 22 มกราคม ค.ศ. 1998 (อายุ 20 ปี) | 25 | |
รัชนก อินทนนท์ | 5 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1995 (อายุ 23 ปี) | 4 | |
ณิชชาอร จินดาพล | 31 มีนาคม ค.ศ. 1991 (อายุ 27 ปี) | 11 | |
จงกลพรรณ กิติธรากุล | 1 มีนาคม ค.ศ. 1993 (อายุ 25 ปี) | 8 | |
ผไทมาส เหมือนวงษ์ | 5 กรกฎาคม ค.ศ. 1995 (อายุ 22 ปี) | 15 | |
บุศนันท์ อึ๊งบำรุงพันธ์ | 22 มีนาคม ค.ศ. 1996 (อายุ 22 ปี) | 24 | |
รวินดา ประจงใจ | 29 มิถุนายน ค.ศ. 1993 (อายุ 24 ปี) | 8 | |
พุธิตา สุภจิรกุล | 29 มีนาคม ค.ศ. 1996 (อายุ 22 ปี) | 98 | |
ทรัพย์สิรี แต้รัตนชัย | 18 เมษายน ค.ศ. 1992 (อายุ 26 ปี) | 98 |
รายการเก็บคะแนน
[แก้]การแข่งขันแบดมินตันรายการพิเศษ 3 รายการใหญ่ที่อิมแพ็ค อารีน่า เมืองทองธานี จัดขึ้นในช่วงโควิด 19 ยังคงมีการระบาดไปทั่วโลก โดยแข่งขันใน 5 ประเภท ได้แก่ ชายเดี่ยว, หญิงเดี่ยว, ชายคู่, หญิงคู่ และคู่ผสม
1.รายการ "โยเน็กซ์ ไทยแลนด์ โอเพ่น 2020" เวิลด์ทัวร์ ซูเปอร์ 1000 ระหว่างวันที่ 12-17 มกราคม 2564
- ชายเดี่ยว: ไม่มีนักแบดมินตันไทยผ่านเข้าสู่รอบรองชนะเลิศ (โฆษิต เพชรประดับ, กุลวุฒิ วิทิตศานต์, สิทธิคมน์ ธรรมศิลป์, กันตภณ หวังเจริญ, ทนงศักดิ์ แสนสมบูรณ์สุข เข้าร่วมการแข่งขัน)
- หญิงเดี่ยว: ไม่มีนักแบดมินตันไทยผ่านเข้าสู่รอบรองชนะเลิศ (รัชนก อินทนนท์, บุศนันท์ อึ๊งบำรุงพันธ์ เข้าร่วมการแข่งขัน)
- ชายคู่: ไม่มีนักแบดมินตันไทยผ่านเข้าสู่รอบรองชนะเลิศ
- หญิงคู่: จงกลพรรณ กิติธรากุล และ รวินดา ประจงใจ ได้รองชนะเลิศ
- คู่ผสม: เดชาพล พัววรานุเคราะห์ และ ทรัพย์สิรี แต้รัตนชัย ชนะเลิศการแข่งขัน
2. รายการ "โตโยต้า ไทยแลนด์ โอเพ่น 2020" เวิลด์ทัวร์ ซูเปอร์ 1000 ระหว่างวันที่ 19-24 มกราคม 2564
- ชายเดี่ยว: ไม่มีนักแบดมินตันไทยผ่านเข้าสู่รอบรองชนะเลิศ
- หญิงเดี่ยว: รัชนก อินทนนท์ ผ่านเข้าถึงรอบรองชนะเลิศ
- ชายคู่: ไม่มีนักแบดมินตันไทยผ่านเข้าสู่รอบรองชนะเลิศ
- หญิงคู่: ไม่มีนักแบดมินตันไทยผ่านเข้าสู่รอบรองชนะเลิศ
- คู่ผสม: เดชาพล พัววรานุเคราะห์ และ ทรัพย์สิรี แต้รัตนชัย ชนะเลิศการแข่งขัน
3. รายการ "เอชเอสบีซี บีดับเบิ้ลยูเอฟ เวิลด์ทัวร์ ไฟนอลส์ 2020" ระหว่างวันที่ 27-31 มกราคม 2564
- หญิงเดี่ยว พรปวีณ์ ช่อชูวงศ์ มืออันดับ 13 ของโลก ผ่านเข้าถึงรอบรองชนะเลิศ (รัชนก อินทนนท์ เข้าร่วมการแข่งขัน)
- หญิงคู่ จงกลพรรณ กิติธรากุล และ รวินดา ประจงใจ มืออันดับ 11 ของโลก ผ่านเข้าถึงรอบรองชนะเลิศ
- คู่ผสม เดชาพล พัววรานุเคราะห์ และ ทรัพย์สิรี แต้รัตนชัย มืออันดับ 3 ของโลก ชนะเลิศการแข่งขัน
โดยทั้งสามรายการมีการถ่ายทอดสดไปทั่วโลก
ระหว่างวันที่ 7-11 ธันวาคม 2565 ผลงานของนักแบดมินตันไทยมีดังนี้
- หญิงเดี่ยว รัชนก อินทนนท์ และ บุศนันท์ อึ๊งบำรุงพันธ์ เข้าร่วมการแข่งขัน
- หญิงคู่ เบญญาภา เอี่ยมสอาด และ นันทกานต์ เอี่ยมสอาด ผ่านเข้าสู่รอบชิง และได้ รองชนะเลิศ ขณะที่คู่ของ จงกลพรรณ กิติธรากุล และ รวินดา ประจงใจ เข้าร่วมการแข่งขัน
- คู่ผสม: เดชาพล พัววรานุเคราะห์ และ ทรัพย์สิรี แต้รัตนชัย ได้ รองชนะเลิศ โดยคู่ของ สุภัค จอมเกาะ และ ศุภิสรา เพียวสามพราน เข้าร่วมการแข่งขัน