ประวัติศาสตร์วิทยาศาสตร์
ประวัติศาสตร์วิทยาศาสตร์ (History of science) คือ การศึกษาพัฒนาการของวิทยาศาสตร์ รวมทั้งวิทยาศาสตร์ธรรมชาติและวิทยาศาสตร์เชิงสังคม วิทยาศาสตร์เป็นองค์ความรู้เชิงประจักษ์ทั้นในเชิงทฤษฎีและเชิงปฏิบัติ เกี่ยวกับธรรมชาติของโลกและจักรวาล วิทยาศาสตร์เป็นศาสตร์ที่ได้รับการค้นพบและต่อยอดโดยนักวิทยาศาสตร์จากรุ่นสู่รุ่น นักวิทยาศาสตร์ให้ความสำคัญกับการสังเกต อธิบาย และทำนายปรากฏการณ์ในโลกแห่งความเป็นจริง[1] นอกจากนั้นประวัติศาสตร์วิทยาศาสตร์ยังศึกษาผลกระทบของนวัตกรรมทางวิทยาศาสตร์ที่มีต่อวัฒนธรรม เศรษฐกิจ และการเมืองของมนุษยชาติในประวัติศาสตร์ที่ผ่านมา ประวัติศาสตร์วิทยาศาสตร์ เป็นเนื้อหาส่วนหนึ่งของวิชาประวัติศาสตร์
วิทยาศาสตร์ ไม่ว่าจะเป็นความรู้ทางคณิตศาสตร์ วิศวกรรม หรือ ฟิสิกส์ที่เราเข้าใจกันในปัจจุบันนั้น ล้วนมีจุดกำเนิดการปฏิวัติวิทยาศาสตร์ในยุคพื้นฟูศิลปวิทยาของยุโรป ซึ่งความรู้ทางวิทยาศาสตร์เหล่านั้น มีรากฐานจากผลงานที่คิดค้นขึ้นในสมัยกรีกโบราณและผลงานความรู้จากโลกมุสลิมที่มาจากโลกตะวันออก ซึ่งรับช่วงต่อมาจากอารยธรรมอียิปต์ เมโสโปเตเมีย และอินเดีย
คำว่า "Scientist" ในภาษาอังกฤษซึ่งแปลว่า "นักวิทยาศาสตร์"เป็นคำที่เกิดขึ้นเมื่อไม่กี่ศตวรรษที่แล้ว คำนี้ได้มีการใช้เป็นครั้งแรกโดย วิลเลียม เวเวล (William Whewell) ในศตวรรษที่ 19[2] ก่อนหน้านั้นผู้ที่สำรวจธรรมชาติของโลกเรียกตัวเองว่า "นักปรัชญาธรรมชาติ (Natural philosopher)" การสังเกตการณ์ธรรมชาติของโลกและจักรวาลนั้นมีมาตั้งแต่ยุคโบราณ ตัวอย่างเช่นนักปรัชญาธรรมชาติชาวกรีก ธาเลส (Thales) และ อริสโตเติล (Aristotle) และวิธีการทางวิทยาศาสตร์ (Scientific method) ถูกนำมาใช้ตั้งแต่สมัยยุคกลางของยุโรปซึ่งมีที่มาจากโลกมุสลิม ตัวอย่างเช่น นักปราชญ์ชาวอาหรับ อิบน์ อัลฮัยษัม (Ibn al-Haytham) และนักปราชญ์ชาวอังกฤษ โรเจอร์ เบคอน (Roger Bacon) วิทยาศาสตร์สมัยใหม่เริ่มขึ้นในช่วงต้นยุคใหม่ (Modern era) เพื่อการพัฒนาศักยภาพทางอุตสาหกรรมและการทำความเข้าใจกับธรรมชาติของจักรวาล โดยเฉพาะอย่างยิ่งในการปฏิวัติวิทยาศาสตร์ในทวีปยุโรปช่วงศตวรรษที่ 16 และศตวรรษที่ 17[3]
ยุคโบราณ
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
เมโสโปเตเมีย
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
กรีก-โรมัน
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
อินเดีย
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
จีน
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ยุคกลาง
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
จักรวรรดิไบเซนไทน์
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
โลกมุสลิม
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ยุโรปตะวันตก
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ยุคฟื้นฟูศิลปวิทยา : การกำเนิดใหม่ของวิทยาศาสตร์ในทวีปยุโรป
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ยุคเรืองปัญญา
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ยุคใหม่ : วิทยาศาสตร์สมัยใหม่
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
คณิตศาสตร์
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ตรรกศาสตร์
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ฟิสิกส์
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ดาราศาสตร์
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ธรณีวิทยา
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
เคมี
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ชีววิทยา
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
เภสัชศาสตร์
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
สังคมศาสตร์
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
โบราณคดี
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
เศรษฐศาสตร์
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
มานุษยวิทยา
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ศาสตร์เกิดใหม่
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
อ้างอิง
[แก้]- ↑ "For our purpose, science may be defined as ordered knowledge of natural phenomena and of the relations between them." William C. Dampier-Whetham, "Science", in Encyclopædia Britannica, 11th ed. (New York: 1911); "Science comprises, first, the orderly and systematic comprehension, description and/or explanation of natural phenomena and, secondly, the [mathematical and logical] tools necessary for the undertaking." Marshall Clagett, Greek Science in Antiquity (New York: Collier Books, 1955); "Science is a systematic explanation of perceived or imaginary phenomena, or else is based on such an explanation. Mathematics finds a place in science only as one of the symbolical languages in which scientific explanations may be expressed." David Pingree, "Hellenophilia versus the History of Science", Isis 83, 559 (1982); Pat Munday, entry "History of Science", New Dictionary of the History of Ideas (Charles Scribner's Sons, 2005).
- ↑ "Whewell and the coining of 'scientist' in the Quarterly Review » Science Comma". blogs.kent.ac.uk. สืบค้นเมื่อ 2016-10-19.
- ↑ Hendrix, Scott E. (2011). "Natural Philosophy or Science in Premodern Epistemic Regimes? The Case of the Astrology of Albert the Great and Galileo Galilei". Teorie Vědy / Theory of Science. 33 (1): 111–132. สืบค้นเมื่อ 20 February 2012.