ประดิษฐ์ เจริญไทยทวี
หน้าตา
บทความชีวประวัตินี้เขียนเหมือนประวัติสมัครงาน |
ประดิษฐ์ เจริญไทยทวี | |
---|---|
อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดล | |
ดำรงตำแหน่ง 9 ธันวาคม พ.ศ. 2534 – 8 ธันวาคม พ.ศ. 2538 | |
ก่อนหน้า | ศ.นพ.ดร.ณัฐ ภมรประวัติ |
ถัดไป | ศ.นพ.อรรถสิทธิ์ เวชชาชีวะ |
คณบดีคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล | |
ดำรงตำแหน่ง พ.ศ. 2530 – พ.ศ. 2534 | |
ก่อนหน้า | ศ.นพ.นที รักษ์พลเมือง |
ถัดไป | ศ.นพ.อรุณ เผ่าสวัสดิ์ |
ข้อมูลส่วนบุคคล | |
เกิด | 5 ตุลาคม พ.ศ. 2475 อำเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี |
เสียชีวิต | 20 กันยายน พ.ศ. 2553 (77 ปี) |
ศาสนา | พุทธ |
คู่สมรส | ยาใจ เจริญไทยทวี |
ศาสตราจารย์คลินิกเกียรติคุณ นายแพทย์ ประดิษฐ์ เจริญไทยทวี หรือมักเรียกกันว่า หมอหลวง (5 ตุลาคม พ.ศ. 2475 - 20 กันยายน พ.ศ. 2553) ซึ่งเป็นแพทย์ที่เคยถวายการรักษาพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร[1] อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดล ผู้มีส่วนร่วมในการก่อตั้งสถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว และวิทยาลัยดุริยางคศิลป์ กับทั้งเคยดำรงตำแหน่งกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ สมาชิกสมัชชาแห่งชาติ และสมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญ
ประวัติการศึกษา
[แก้]- พ.ศ. 2497 - แพทยศาสตร์บัณฑิต มหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์
- พ.ศ. 2503 - D.A. (Eng.) (ประกาศนียบัตรทางวิสัญญีวิทยาแห่งประเทศอังกฤษ) ราชวิทยาลัยศัลยแพทย์แห่งประเทศอังกฤษ และราชวิทยาลัยอายุรแพทย์แห่งกรุงลอนดอน
- พ.ศ. 2505 - F.F.A.R.C.S. (Eng.) (Fellow of Faculty of Anaethetists, Royal College of Surgeon of England) ราชวิทยาลัยวิสัญญีแห่งประเทศอังกฤษ
- พ.ศ. 2506 - Hon.F.R.C.S (Thailand) (สมาชิกกิตติมศักดิ์ของราชวิทยาลัยศัลยแพทย์แห่งประเทศไทย) ราชวิทยาลัยศัลยแพทย์แห่งประเทศไทย
- พ.ศ. 2512 - อนุมัติบัตรประกอบวิชาชีพเวชกรรมสาขาวิสัญญีวิทยาของแพทยสภา
- พ.ศ. 2526 - สมาชิกกิตติมศักดิ์ของราชวิทยาลัยศัลยแพทย์แห่งประเทศไทย
- พ.ศ. 2536 - Hon. Doctor of letters. Sydney University
- พ.ศ. 2539
- Hon. FICS. (International College of Sugeons) Honorary Awards
- แพทยศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต (กิตติมศักดิ์) มหาวิทยาลัยมหิดล
- สมาชิกกิตติมศักดิ์ของราชวิทยาลัยวิสัญญีแพทย์แห่งประเทศไทย
ประสบการณ์ทำงาน
[แก้]- พ.ศ. 2514 - เลขานุการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข
- พ.ศ. 2516 - หัวหน้าภาควิชาวิสัญญีวิทยา คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล
- พ.ศ. 2530 - 2534 - คณบดีคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล
- พ.ศ. 2532 - สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ และรองประธานคณะกรรมาธิการการวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และการพลังงาน
- พ.ศ. 2534 - 2538 - อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดล
- พ.ศ. 2538 - 2540 - สมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญ (ส.ส.ร.) จังหวัดปทุมธานี[2]
- พ.ศ. 2542
- ประธานกรรมการนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ
- ประธานสหพันธ์ครอบครัวเพื่อความสามัคคีและสันติภาพของโลก (ประเทศไทย)
- รองประธานคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ของสภาผู้แทนราษฎร
- ประธานคณะกรรมการประชาพิจารณ์ร่างแผนแม่บทสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
- พ.ศ. 2544
- ประธานมูลนิธิเพื่อการพัฒนาและสันติ
- รองประธานมูลนิธิโรคไตแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนาธิวาสราชนครินทร์
- กรรมการบริหารมูลนิธิรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล ในพระบรมราชูปถัมภ์
- กรรมการบริหารศิริราชมูลนิธิ
- กรรมการบริหารมูลนิธิมหาวิทยาลัยมหิดล
เครื่องราชอิสริยาภรณ์
[แก้]ไทย
[แก้]- พ.ศ. 2544 – เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้นสูงสุด มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก (ม.ป.ช.)[3]
- พ.ศ. 2530 – เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นสูงสุด มหาวชิรมงกุฎ (ม.ว.ม.)[4]
- พ.ศ. 2525 – เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นที่ 2 ทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ท.จ.ว.) (ฝ่ายหน้า)[5]
- พ.ศ. 2540 – เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่สรรเสริญยิ่งดิเรกคุณาภรณ์ ชั้นที่ 4 จตุตถดิเรกคุณาภรณ์ (จ.ภ.)[6]
- พ.ศ. 2526 – เหรียญจักรพรรดิมาลา (ร.จ.พ.)[7]
- พ.ศ. 2527 – เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 9 ชั้นที่ 3 (ภ.ป.ร.3)[8]
ต่างประเทศ
[แก้]- เนปาล :
- เยอรมนี :
- พ.ศ. 2528 - เครื่องอิสริยาภรณ์คุณธรรมแห่งสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี ประถมาภรณ์ ชั้นที่ 2
- ฝรั่งเศส :
- พ.ศ. 2535 - เครื่องอิสริยาภรณ์เลฌียงดอเนอร์ ชั้นกร็องตอฟีซีเย
- พ.ศ. ไม่ปรากฏ - เครื่องอิสริยาภรณ์เนชันดูเมรีต
อ้างอิง
[แก้]- ↑ http://www.matichon.co.th/news_detail.php?newsid=1285032901&catid=04
- ↑ ประกาศรัฐสภา เรื่อง ตั้งสมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญราชกิจจานุเบกษา เล่ม 114 ตอน 2ง วันที่ 7 มกราคม พ.ศ. 2540
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือกและเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย เก็บถาวร 2017-12-01 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, เล่ม ๑๑๘ ตอนที่ ๒๒ ข หน้า ๒, ๔ ธันวาคม ๒๕๔๔
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ เก็บถาวร 2015-09-30 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, เล่ม ๑๐๔ ตอนที่ ๒๔๗ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๖, ๑ ธันวาคม ๒๕๓๐
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์, เล่ม ๙๙ ตอนที่ ๗๖ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๑๖, ๓ มิถุนายน ๒๕๒๕
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์, เล่ม ๑๑๔ ตอนที่ ๒๙ ข หน้า ๔, ๑๖ ธันวาคม ๒๕๔๐
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญจักรมาลาและเหรียญจักรพรรดิมาลา, เล่ม ๑๐๐ ตอนที่ ๒๐๗ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๔๑๘๐, ๓๑ ธันวาคม ๒๕๒๖
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญรัตนาภรณ์, เล่ม ๑๐๑ ตอนที่ ๑๘๖ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๒๒, ๑๔ ธันวาคม ๒๕๒๗
หมวดหมู่:
- บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2475
- บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2553
- นักวิชาการชาวไทย
- แพทย์ชาวไทย
- อาจารย์คณะแพทยศาสตร์
- อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดล
- สมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญไทย
- กรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติของไทย
- บุคคลจากคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล
- ผู้ได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ม.ป.ช.
- ผู้ได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ม.ว.ม.
- ผู้ได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ท.จ.ว. (ฝ่ายหน้า)
- ผู้ได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ จ.ภ.
- ผู้ได้รับเหรียญจักรพรรดิมาลา
- ผู้ได้รับเหรียญรัตนาภรณ์ ภ.ป.ร.3
- ผู้ได้รับเครื่องอิสริยาภรณ์เลฌียงดอเนอร์
- บุคคลจากอำเภอสามโคก
- บทความเกี่ยวกับ ชีวประวัติ ที่ยังไม่สมบูรณ์