ข้ามไปเนื้อหา

นีชอบูร์

พิกัด: 36°12′48″N 58°47′45″E / 36.21333°N 58.79583°E / 36.21333; 58.79583
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
นีชอบูร์

نیشابور

เนย์ชอบูร์หรือนีชอพูร์
นคร
เนย์ชอบูร์[1]
สมญา: 
นีชอบูร์ตั้งอยู่ในประเทศอิหร่าน
นีชอบูร์
นีชอบูร์
นีชอบูร์ตั้งอยู่ในเอเชียตะวันตกและเอเชียกลาง
นีชอบูร์
นีชอบูร์
พิกัด: 36°12′48″N 58°47′45″E / 36.21333°N 58.79583°E / 36.21333; 58.79583
ประเทศธงของประเทศอิหร่าน อิหร่าน
จังหวัดโฆรอซอเนแรแซวี
เทศมณฑลนีชอบูร์
อำเภอกลาง
ก่อตั้งคริสต์ศตวรรษที่ 3
เทศบาลนีชอบูร์ค.ศ. 1931
ผู้ก่อตั้งชาห์ซาปูร์ที่ 1
การปกครอง
 • นายกเทศมนตรีHassan Mirfani
 • ผู้ว่าการเทศมนตรีAliReza Ghamati
ความสูง1,250 เมตร (4,100 ฟุต)
ประชากร
 (สำมะโน พ.ศ. 2559)
 • เขตเมือง264,375 [3] คน
เขตเวลาUTC+03:30 (เวลามาตรฐานอิหร่าน)
รหัสพื้นที่051
เว็บไซต์neyshabur.ir

นีชอบูร์ หรือ นีชอพูร์ (เปอร์เซีย: نیشابور; จากภาษาเปอร์เซียกลาง New-Shabuhr หมายถึง "เมืองใหม่ของซาปูร์", "ซาปูร์อันโสภณ",[4] หรือ "ซาปูร์ที่สร้างมาอย่างสมบูรณ์")[5] เป็นนครที่ใหญ่เป็นอันดับสองในจังหวัดโฆรอซอเนแรแซวี ซึ่งเคยเป็นเมืองหลวงฝั่งตะวันตกของเกรตเตอร์โฆรอซอน เมืองหลวงในคริสต์ศตวรรษที่ 9 ของรางวงศ์ตอฮีริด เมืองหลวงเดิมของจักรวรรดิเซลจูก เมืองหลักของเทศมณฑลนีชอบูร์ และอดีตเมืองในเส้นทางสายไหม[6] นีชอบูร์ตั้งอยู่บนที่ราบอันอุดมสมบูรณ์ตรงตีนทิวเขาบีนอลูด ใน พ.ศ. 2559 นครนี้มีประชากรประมาณ 264,180 คนและเทศมณฑลมีประชากรประมาณ 448,125 คน นครนี้ตั้งอยู่ใกล้เหมืองแร่เทอร์ควอยซ์ที่มีแร่เทอร์ควอยซ์คุณภาพสูงที่สุดในโลก[7]ที่มีการขุดมาอย่างน้อยสองสหัสศวรรษ

เมืองก่อตั้งในคริสต์ศตวรรษที่ 3 โดยพระเจ้าชอบูร์ที่ 1 ในฐานะเมืองข้าหลวงจักรวรรดิซาเซเนียน ต่อมาจึงเป็นเมืองหลวงของราชวงศ์ทอเฮรียอน และได้บูรณะใหม่ในสมัยอับดุลลฮ์ อิบน์ เฏาะฮิร ในปี ค.ศ. 830 และได้รับเลือกเป็นเมืองหลวงของราชวงศ์เซลจุค ปี ค.ศ. 1037 ในสมัยราชวงศ์อับบาซียะฮ์ถูกชาวมองโกลรุกราน เมืองได้พัฒนาจนกลายเป็นศูนย์กลางด้านวัฒนธรรม การค้า ความรู้ของโลกอิสลาม เป็นหนึ่งในสี่เมืองใหญ่ของโฆรอซอนใหญ่ (ร่วมกับเมืองเมิร์ฟ, เฮราต และบัลค์) หนึ่งในเมืองที่ยิ่งใหญ่ที่สุดของสมัยกลาง ศูนย์กลางอำนาจของรัฐเคาะลีฟะฮ์ทางตะวันออก ที่อยู่อาศัยของคนหลากหลายเชื้อชาติและศาสนา และจุดหยุดพักของเส้นทางการค้าจากจีนและทรานซ็อกเซียนาไปยังอิรักและอียิปต์

การค้นพบทางโบราณคดีในนครหลายแห่งถูกเก็บและจัดแสดงต่อสาธารณชนที่พิพิธภัณฑ์ศิลปะเมโทรโพลิทันในนครนิวยอร์ก, พิพิธภัณฑ์บริติชในลอนดอน และพิพิธภัณฑ์นานาชาติอื่น ๆ[8][9][10]

เมืองพี่น้อง

[แก้]

นีชอบูร์เป็นเมืองพี่น้องกับเมืองดังนี้:[11]

อ้างอิง

[แก้]
  1. "Municipality of Neyshabur". Municipality of Neyshabur.{{cite web}}: CS1 maint: url-status (ลิงก์)
  2. The Cambridge History of Iran – Volume 1 – Page 68
  3. "Statistical Center of Iran > Home".
  4. Honigmann, E.; Bosworth, C.E.. "Nīs̲h̲āpūr." Encyclopaedia of Islam, Second Edition. Edited by: P. Bearman, Th. Bianquis, C.E. Bosworth, E. van Donzel, W.P. Heinrichs. Brill Online, 2013. Reference. 31 December 2013
  5. นีชอบูร์ สามารถพบได้ใน GEOnet Names Server ผ่าน ลิงก์นี้ ด้วยการเปิดไปยังกล่องค้นหาขั้นสูง แล้วพิมพ์ "-3076915" ในฟอร์ม "Unique Feature Id" และคลิกบน "Search Database"
  6. Sardar, Marika ((originally published October 2001, last revised July 2011)). "The Metropolitan Museum's Excavations at Nishapur". The Metropolitan Museum. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |date= (help)CS1 maint: url-status (ลิงก์)
  7. "Turquoise Quality Factors". Gemological Institute of America (GIA).{{cite web}}: CS1 maint: url-status (ลิงก์)
  8. Sardar, Author: Marika. "The Metropolitan Museum's Excavations at Nishapur | Essay | Heilbrunn Timeline of Art History | The Metropolitan Museum of Art". The Met's Heilbrunn Timeline of Art History (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2018-02-10. {{cite web}}: |first= มีชื่อเรียกทั่วไป (help)
  9. "Nishapur". The British Museum.{{cite web}}: CS1 maint: url-status (ลิงก์)
  10. "Coppa con decorazione calligrafica". Museum of Eastern Art in Italy (ภาษาอิตาลี). 25 November 2015.{{cite web}}: CS1 maint: url-status (ลิงก์)
  11. "Tomb of Kamal-ol-Molk". iranparadise.com. Iran Paradise. 2020-05-05. สืบค้นเมื่อ 2020-11-15.

อ่านเพิ่ม

[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]