ข้ามไปเนื้อหา

ช่วงเวลาในมักกะฮ์

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

นี่คือช่วงเวลาของประวัติศาสตร์เมืองมักกะฮ์ ประเทศซาอุดีอาระเบีย

ก่อนศตวรรษที่ 20

[แก้]

ศตวรรษที่ 20

[แก้]
  • ค.ศ.1908 / ฮ.ศ.1325-1326
  • ค.ศ.1912 - ก่อตั้ง มัดรอซัต อัล-ฟาลาฮ์[11]
  • ค.ศ.1916 / ฮ.ศ.1334-1335
    • มิถุนายน–กรกฎาคม: สงครามในมักกะฮ์[4]
    • เริ่มตีพิมพ์หนังสือพิมพ์ อัล-กิบละฮ์[11]
  • ค.ศ.1921 - ประชากร: 80,000 (โดยประมาณ)[12]
  • ค.ศ.1924 / ฮ.ศ.1342-1343
    • สงครามในมักกะฮ์[11]
    • 12 ธันวาคม: เริ่มตีพิมพ์หนังสือพิมพ์ อุมมุ อัล-กุรอ[11]
    • ประชากร: 60,000 (โดยประมาณ)[13]
    • อะลีแห่งฮิญาซ เป็นชารีฟคนใหม่
  • ค.ศ.1925 - เมืองกลายเป็นส่วนหนึ่งของประเทศซาอุดีอาระเบีย[4]
  • ค.ศ.1926 - ก่อตั้งโรงเรียนสุสานอัล อดิล และอัล-มะฮัด อัล-อิลมี ซุอูดี[11]
  • ค.ศ.1929 - ก่อตั้งอมานาต อัล-อะซีมา (เทศบาล)[11]
  • ค.ศ.1931 / ฮ.ศ.1349-1350 - ก่อตั้งห้องสมุดประชาชน (ปีที่ใกล้เคียง)[11]
  • ค.ศ.1932 - ก่อตั้งโรงเรียนดารฺ อัล-ฮะดีษ[11]
  • คริสต์ทศวรรษ 1930 - ก่อตั้งโรงเรียนอะซิซิยา, ฟัยซาลิยา, ค็อยริยา และซูอุดียา (ปีที่ใกล้เคียง)[11]
  • ค.ศ.1938 - เปิดห้องสมุด มัคตาบัต อัล-ฮะรอม[11]
  • ค.ศ.1945 - ก่อตั้ง อัล-วิฮดาคลับ (ชมรมกีฬา)
  • ค.ศ.1949 / ฮ.ศ.1368-1369 - ก่อตั้งวิทยาลัยคุลลิยยัต อัล-ชาริอะฮ์[11]
  • ค.ศ.1951 - ก่อตั้งวิทยาลัยการศึกษา.[11]
  • ค.ศ.1958 - เริ่มตีพิมพ์หนังสือพิมพ์ อัลนัดวา
  • ค.ศ.1960 - ก่อตั้งโรงเรียนตำรวจ[11]
  • ค.ศ.1962
    • ยกเลิกการค้าทาส[11]
    • ประชากร: 158,908[14]
  • ค.ศ.1964 / ฮ.ศ.1383-1384
  • ค.ศ.1966 - ก่อตั้งโรงเรียนมะฮัด อัล-นูร์[11]
  • ค.ศ.1972 - เริ่มเผยแพร่การทำฮัจญ์[15]
  • ค.ศ.1973 - เริ่มแผน "แผนสุดยอดของเมืองมักกะฮ์อันศักดิ์สิทธิ์"[1]
  • ค.ศ.1974 - ประชากร: 366,801[16]
  • ค.ศ.1975 - ไฟไหม้ที่มินา[1]
  • ค.ศ.1979 - 20 พฤศจิกายน-4 ธันวาคม: เหตุการณ์ยึดมัสยิด อัล-ฮะรอม[17]
  • ค.ศ.1981 - ก่อตั้งมหาวิทยาลัยอุมมุ อัล-กุรอ[11]
  • ค.ศ.1986 - เปิดสนามกีฬากษัตริย์อับดุลอะซีซ
  • ค.ศ.1987 - 31 กรกฎาคม: อุบัติเหตุในมักกะฮ์
  • ค.ศ.1992 - ประชากร: 965,697[18]
  • ค.ศ.1997 - 16 เมษายน: ไฟไหม้ในมักกะฮ์

ศตวรรษที่ 21

[แก้]

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. 1.0 1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 1.6 Sardar 2014.
  2. John L. Esposito (2003). "Chronology of Key Events". Oxford Dictionary of Islam. Oxford University Press. p. 351+. ISBN 978-0-19-975726-8.
  3. New Encyclopedia of Islam. USA: AltaMira Press. 2003. ISBN 978-0-7591-0190-6.
  4. 4.0 4.1 4.2 4.3 4.4 4.5 4.6 Hollister 1996.
  5. 5.0 5.1 5.2 Haydn 1910.
  6. 6.0 6.1 Tolmacheva 2000.
  7. 7.0 7.1 7.2 7.3 Agoston 2009.
  8. Saudi Arabia: Mecca, ArchNet, คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ September 2008
  9. "Saudi Arabia". Political Chronology of the Middle East. Europa Publications. 2003. p. 197+. ISBN 978-1-135-35673-6.
  10. "Turkey". Statesman's Year-Book. London: Macmillan and Co. 1890. hdl:2027/nyp.33433081590527.
  11. 11.00 11.01 11.02 11.03 11.04 11.05 11.06 11.07 11.08 11.09 11.10 11.11 11.12 11.13 11.14 11.15 11.16 11.17 Bosworth 2007.
  12. "Arabia: Kingdom of Hejaz". Statesman's Year-Book. London: Macmillan and Co. 1921. hdl:2027/njp.32101072368440.
  13. "Again Holy Mecca Resounds to Arms; City of the Prophet Yields for Second Time in a Century to the Wahabis", New York Times, 2 November 1924
  14. "Population of capital cities and cities of 100,000 and more inhabitants". Demographic Yearbook 1965. New York: Statistical Office of the United Nations. 1966. pp. 140–161.
  15. Marwan M. Kraidy; Joe F. Khalil (2009). "Chronology". Arab Television Industries. Palgrave Macmillan. p. 153+. ISBN 978-1-84457-576-3.[ลิงก์เสีย]
  16. United Nations Department of Economic and Social Affairs, Statistical Office (1987). "Population of capital cities and cities of 100,000 and more inhabitants". 1985 Demographic Yearbook. New York. pp. 247–289. Makkah
  17. BBC News. "Saudi Arabia Profile: Timeline". สืบค้นเมื่อ 30 April 2015.
  18. "Saudi Arabia". Europa World Year Book. Europa Publications. 2004. p. 3662+. ISBN 978-1-85743-255-8.
  19. "Price of Progress: Transforming Islam's Holiest Site", New York Times, 8 March 2007
  20. "Why do thousands want to show off Mecca on a chat app?", BBC News, 11 July 2015
  21. "Snapchat opens digital window on Mecca to millions", al-Jazeera, 14 July 2015

บรรณานุกรม

[แก้]
ตีพิมพ์ในคริสต์ศตวรรษที่ 18-19
ตีพิมพ์ในคริสต์ศตวรรษที่ 20
ตีพิมพ์ในศตวรรษที่ 21

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]