สถานีรถไฟชุมทางหนองปลาดุก
ชุมทางหนองปลาดุก Nong Pladuk Junction | |||||||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
สถานีระดับที่ 4 | |||||||||||||||||||||
ข้อมูลทั่วไป | |||||||||||||||||||||
ที่ตั้ง | หมู่ 6 ตำบลหนองกบ อำเภอบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี ประเทศไทย | ||||||||||||||||||||
พิกัด | 13°49′04″N 99°54′39″E / 13.81771°N 99.91087°E | ||||||||||||||||||||
ผู้ให้บริการ | การรถไฟแห่งประเทศไทย | ||||||||||||||||||||
ผู้บริหาร | กระทรวงคมนาคม | ||||||||||||||||||||
สาย | |||||||||||||||||||||
ชานชาลา | 2 | ||||||||||||||||||||
ทางวิ่ง | 5 | ||||||||||||||||||||
ข้อมูลอื่น | |||||||||||||||||||||
รหัสสถานี | 4020 (ปด.) | ||||||||||||||||||||
ประวัติ | |||||||||||||||||||||
เริ่มเปิดให้บริการ | 19 มิถุนายน 2446 | ||||||||||||||||||||
การเชื่อมต่อ | |||||||||||||||||||||
| |||||||||||||||||||||
|
สถานีรถไฟชุมทางหนองปลาดุก ตั้งอยู่บ้านหนองปลาดุก หมู่ 6 ตำบลหนองกบ อำเภอบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี เป็นสถานีรถไฟ ระดับ 2 เป็นชุมทางที่แยกไปรถไฟสายใต้ รถไฟสายตะวันตก และทางรถไฟสายสุพรรณบุรี
สถานีรถไฟชุมทางหนองปลาดุก นับเป็นสถานีรถไฟต้นทางของทางรถไฟสายมรณะ ในสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 [1]
ตารางเวลาการเดินรถ
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
เที่ยวล่อง
[แก้]ขบวนรถ | ต้นทาง | ชุมทางหนองปลาดุก | ปลายทาง | หมายเหตุ | |||
---|---|---|---|---|---|---|---|
ชื่อสถานี | เวลาออก | ชื่อสถานี | เวลาถึง | ||||
ท485 | ชุมทางหนองปลาดุก | 06.08 | 04.25 | น้ำตก | 08.20 | ||
ธ255 | ธนบุรี | 07.20 | 08.45 | หลังสวน | 18.10 | ||
ธ257 | ธนบุรี | 07.45 | 09.23 | น้ำตก | 12.35 | ||
ธ261 | กรุงเทพ (หัวลําโพง) | 09.20 | 11.04 | สวนสนประดิพัทธ์ | 14.00 | ||
ธ251 | ธนบุรี | 13.10 | 14.29 | ประจวบคีรีขันธ์ | 19.10 | ||
ช355 | กรุงเทพ (หัวลําโพง) | 16.40 | 18.29 | สุพรรณบุรี | 20.04 | ||
ธ351 | ธนบุรี | 18.25 | 19.12 | ราชบุรี | 20.35 | ||
หมายเหตุขบวนรถ: ■ = สายเหนือ / ■ = สายตะวันออกเฉียงเหนือ / ■ = สายใต้ / ■ = สายตะวันออก / ■ = สายแม่กลอง ดพ = รถด่วนพิเศษ / ด = รถด่วน / ร = รถเร็ว / ธ = รถธรรมดา / ช = รถชานเมือง / พช = รถพิเศษชานเมือง / ท = รถท้องถิ่น / น = รถนำเที่ยว / ส = รถสินค้า |
เที่ยวขึ้น
[แก้]ขบวนรถ | ต้นทาง | ชุมทางหนองปลาดุก | ปลายทาง | หมายเหตุ | |||
---|---|---|---|---|---|---|---|
ชื่อสถานี | เวลาออก | ชื่อสถานี | เวลาถึง | ||||
ธ352 | ราชบุรี | 04.45 | 05.42 | ธนบุรี | 07.10 | ||
ช356 | สุพรรณบุรี | 04.00 | 06.10 | กรุงเทพ (หัวลําโพง) | 08.05 | ||
ธ260 | น้ำตก | 05.20 | 08.23 | ธนบุรี | 09.50 | ||
ธ252 | ประจวบคีรีขันธ์ | 04.40 | 09.39 | ธนบุรี | 10.30 | ||
ธ254 | หลังสวน | 06.30 | 14.14 | ธนบุรี | 17.25 | ||
ธ258 | น้ำตก | 12.55 | 15.50 | ธนบุรี | 17.40 | ||
ธ262 | สวนสนประดิพัทธ์ | 14.35 | 16.51 | กรุงเทพ (หัวลําโพง) | 19.20 | ||
ท486 | น้ำตก | 15.30 | 18.50 | ชุมทางหนองปลาดุก | 17.33 | ||
น909 | กรุงเทพ (หัวลําโพง) | 06.30 | 08:50 | น้ำตกไทรไยคน้อย | 11.30 | เฉพาะวันหยุดราชการ | |
หมายเหตุขบวนรถ: ■ = สายเหนือ / ■ = สายตะวันออกเฉียงเหนือ / ■ = สายใต้ / ■ = สายตะวันออก / ■ = สายแม่กลอง ดพ = รถด่วนพิเศษ / ด = รถด่วน / ร = รถเร็ว / ธ = รถธรรมดา / ช = รถชานเมือง / พช = รถพิเศษชานเมือง / ท = รถท้องถิ่น / น = รถนำเที่ยว / ส = รถสินค้า |
อาหารเอกลักษณ์
[แก้]ณ สถานีรถไฟชุมทางหนองปลาดุก มีอาหารทีขึ้นชื่อเป็นเอกลักษณ์ คือ ข้าวแกงที่บรรจุใส่กระทงใบตอง ขายราคากระทงละ 10 บาท โดยขายอย่างยาวนานมากกว่า 40 ปี เริ่มแรกที่ราคาเพียงกระทงละ 1 บาท โดยมีเมนู 4 อย่าง คือ พะแนงเนื้อ, พะแนงไก่, แกงเขียวหวานไก่ และไข่พะโล้ รวมถึงเคยถวายสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี มาแล้ว ในวโรกาสที่พระองค์เสด็จพระราชดำเนินพื้นที่จังหวัดกาญจนบุรีด้วยรถไฟพระที่นั่ง ซึ่งรถไฟได้จอดพักที่สถานีชุมทางแห่งนี้เมื่อวันที่ 16 ตุลาคม พ.ศ. 2558 ด้วย[2]
ภาพ
[แก้]-
ห้องจำหน่ายตั๋วโดยสารเก่าของสถานีรถไฟชุมทางหนองปลาดุก
-
อาคารสถานีรถไฟชุมทางหนองปลาดุกหลังเก่า เมื่อปี พ.ศ. 2562