ข้ามไปเนื้อหา

ชาติโอเชียเนียในฟุตบอลโลก

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

ฟุตบอลทีมชาติของโซนโอเชียเนียในฟุตบอลโลก เป็นตัวแทนของแต่ละประเทศในการเข้าร่วมการแข่งขันฟุตบอลโลกซึ่งเป็นประเทศจากโซนโอเชียเนียและเป็นสมาชิกของสมาพันธ์ฟุตบอลโอเชียเนีย (OFC) โดยมีสมาชิกเพียง 2 ทีมของสมาพันธ์ฟุตบอลโอเชียเนียที่เคยเข้าร่วมแข่งขันในฟุตบอลโลกรอบสุดท้าย ซึ่งเป็นการกีฬาระดับนานาชาติที่ยิ่งใหญ่ที่สุดของกีฬาฟุตบอล ผลงานอันดับสูงสุดในฟุตบอลโลกสำหรับทีมโอเชียเนียคือ รอบ 16 ทีมในฟุตบอลโลก 2006 โดยทีมชาติออสเตรเลีย

ภาพรวม

[แก้]
1930
อุรุกวัย
(13)
1934
ราชอาณาจักรอิตาลี
(16)
1938
สาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 3
(15)
1950
Fourth Brazilian Republic
(13)
1954
ประเทศสวิตเซอร์แลนด์
(16)
1958
ประเทศสวีเดน
(16)
1962
ชิลี
(16)
1966
ประเทศอังกฤษ
(16)
1970
เม็กซิโก
(16)
1974
เยอรมนีตะวันตก
(16)
1978
ประเทศอาร์เจนตินา
(16)
1982
ประเทศสเปน
(24)
1986
เม็กซิโก
(24)
1990
ประเทศอิตาลี
(24)
1994
สหรัฐอเมริกา
(24)
1998
ประเทศฝรั่งเศส
(32)
2002
ประเทศเกาหลีใต้
ประเทศญี่ปุ่น
(32)
2006
ประเทศเยอรมนี
(32)
2010
ประเทศแอฟริกาใต้
(32)
2014
ประเทศบราซิล
(32)
2018
ประเทศรัสเซีย
(32)
2022
ประเทศกาตาร์
(32)
2026
ประเทศแคนาดา
สหรัฐอเมริกา
เม็กซิโก
(48)
รวม
ทีม 0 0 0 0 0 0 0 0 0 ประเทศออสเตรเลีย[a] 0 ประเทศนิวซีแลนด์[a] 0 0 0 0 0 ประเทศออสเตรเลีย[b] ประเทศนิวซีแลนด์ 0 0 0 4
16 ทีมสุดท้าย 0[c] 0 0 0 0 0 1 0 0 0 0 1
8 ทีมสุดท้าย 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0
4 ทีมสุดท้าย 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0
2 ทีมสุดท้าย 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0
1 0
2 0
3 0
4 0
ประเทศ จำนวนครั้ง ปี ค.ศ. ผลงานดีที่สุด
ธงชาติออสเตรเลีย ออสเตรเลีย[d]
6
1974, 2006, (2010, 2014, 2018, 2022) R2
ธงชาตินิวซีแลนด์ นิวซีแลนด์  
2
1982, 2010 R1
  • ตัวหนา หมายถึง ปีที่จบอันดับดีที่สุด

หมายเหตุ

[แก้]
  1. 1.0 1.1 ทีมโอเชียเนียในปี ค.ศ. 1974 (ออสเตรเลีย) และปี ค.ศ. 1982 (นิวซีแลนด์) ต่างก็ผ่านเข้ารอบหลังจากเล่นในโซนทวีปซึ่งประกอบด้วยทีมเอเชียและโอเชียเนีย
  2. การคัดเลือกของออสเตรเลียในปี ค.ศ. 2006 ผ่านโซนโอเชียเนีย เนื่องจากพวกเขาเป็นสมาชิกโอเอฟซีในระหว่างการแข่งขัยรอบคัดเลือก อย่างไรก็ตาม ในวันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 2006 พวกเขาออกจากโอเอฟซีและเข้าร่วมเอเอฟซี
  3. ในปี ค.ศ. 1982 ในรอบที่สองมี 12 ทีมแข่งขันแบบแบ่งกลุ่มมีทั้งหมด 4 กลุ่ม กลุ่มละ 3 ทีม มีเพียงผู้ชนะเท่านั้นที่จะผ่านเข้าสู่รอบรองชนะเลิศ: ไม่มีรอบก่อนรองชนะเลิศ
  4. ในปี ค.ศ. 1974 และ 2006 ออสเตรเลียผ่านเข้ารอบจากการแข่งขันรอบคัดเลือกโอเอฟซี อย่างไรก็ตาม สหพันธ์ฟุตบอลออสเตรเลียได้ออกจากโอเอฟซีอย่างเป็นทางการและเข้าร่วมเอเอฟซี เมื่อวันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 2006 พวกเขาผ่านเข้ารอบในปี ค.ศ. 2010, 2014, 2018 และ 2022 ในฐานะสมาชิกของเอเอฟซี

อ้างอิง

[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]