ข้ามไปเนื้อหา

จักรยานชิงแชมป์เอเชีย

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จักรยานชิงแชมป์เอเชีย
รายละเอียดการแข่งขัน
ประเภทจักรยานลู่
จักรยานถนน
องค์กรสมาพันธ์จักรยานเอเชีย
เว็บไซต์www.asiancycling.com แก้ไขสิ่งนี้ที่วิกิสนเทศ
ประวัติ
ครั้งแรกค.ศ. 1963

จักรยานชิงแชมป์เอเชีย (อังกฤษ: Asian Cycling Championships) เป็นการแข่งขันจักรยานลู่และถนนชิงแชมป์ทวีป ซึ่งจัดโดยสมาพันธ์จักรยานเอเชีย (ACC) ก่อตั้งขึ้นในปี ค.ศ. 1963 เดิมการแข่งขันประเภทถนนและประเภทลู่จะจัดขึ้นพร้อมกัน ตั้งแต่ปี ค.ศ. 2017 การแข่งขันทั้งสองรายการได้จัดแยกกัน[1][2]

การแข่งขัน

[แก้]

1963–2016

[แก้]
ปี ครั้งที่ ประเทศ เมือง หมายเหตุ
1963 1 ธงของประเทศมาเลเซีย มาเลเซีย กัวลาลัมเปอร์
1965 2  ฟิลิปปินส์ มะนิลา
1967 3  ไทย กรุงเทพมหานคร
1969 4 ธงของประเทศเกาหลีใต้ เกาหลีใต้ โซล
1971 5  สิงคโปร์ สิงคโปร์
1973 6 ธงของประเทศญี่ปุ่น ญี่ปุ่น อิซุ
1975 7 ธงของประเทศอินโดนีเซีย อินโดนีเซีย จาการ์ตา ยกเลิกการแข่งขัน
1977 8  ฟิลิปปินส์ มะนิลา
1979 9 ธงของประเทศมาเลเซีย มาเลเซีย กัวลาลัมเปอร์
1981 10  ไทย กรุงเทพมหานคร
1983 11  ฟิลิปปินส์ มะนิลา
1985 12 ธงของประเทศเกาหลีใต้ เกาหลีใต้ อินช็อน
1987 13 ธงของประเทศอินโดนีเซีย อินโดนีเซีย จาการ์ตา
1989 14 ธงของประเทศอินเดีย อินเดีย นิวเดลี
1991 15 ธงของประเทศจีน จีน ปักกิ่ง
1993 16 ธงของประเทศมาเลเซีย มาเลเซีย อีโปะฮ์
1995 17  ฟิลิปปินส์ เกซอนซิตี
1997 18 ธงของประเทศอิหร่าน อิหร่าน เตหะราน (ชาย)
ธงของประเทศเกาหลีใต้ เกาหลีใต้ โซล (หญิง)
ปี ครั้งที่ ประเทศ เมือง หมายเหตุ
1999 19 ธงของประเทศญี่ปุ่น ญี่ปุ่น มาเอบาชิ
2000 20 ธงของประเทศจีน จีน เซี่ยงไฮ้
2001 21  จีนไทเป เกาสฺยง / ไถจง
2002 22  ไทย กรุงเทพมหานคร
2003 23 ธงของประเทศเกาหลีใต้ เกาหลีใต้ ชังว็อน
2004 24 ธงของประเทศญี่ปุ่น ญี่ปุ่น ยกกาอิจิ
2005 25 ธงของประเทศอินเดีย อินเดีย ลุธิอาณา
2006 26 ธงของประเทศมาเลเซีย มาเลเซีย กัวลาลัมเปอร์
2007 27  ไทย กรุงเทพมหานคร
2008 28 ธงของประเทศญี่ปุ่น ญี่ปุ่น นาระ
2009 29 ธงของประเทศอินโดนีเซีย อินโดนีเซีย เติงการง
2010 30 ธงของสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ชัรญะฮ์
2011 31  ไทย นครราชสีมา
2012 32 ธงของประเทศมาเลเซีย มาเลเซีย กัวลาลัมเปอร์
2013 33 ธงของประเทศอินเดีย อินเดีย นิวเดลี
2014 34 ธงของประเทศคาซัคสถาน คาซัคสถาน อัสตานา [1]
2015 35  ไทย นครราชสีมา
2016 36 ธงของประเทศญี่ปุ่น ญี่ปุ่น อิซุ

2017–ปัจจุบัน

[แก้]
ครั้งที่ ปี จักรยานถนน ปี จักรยานลู่ หมายเหตุ
ประเทศ เมือง ประเทศ เมือง
37 2017 ธงของประเทศบาห์เรน บาห์เรน มานามา 2017 ธงของประเทศอินเดีย อินเดีย นิวเดลี
38 2018 ธงของประเทศพม่า พม่า เนปยีดอ 2018 ธงของประเทศมาเลเซีย มาเลเซีย นีไล
39 2019 ธงของประเทศอุซเบกิสถาน อุซเบกิสถาน ทาชเคนต์ 2019 ธงของประเทศอินโดนีเซีย อินโดนีเซีย จาการ์ตา
40 2020 ยกเลิก 2020 ธงของประเทศเกาหลีใต้ เกาหลีใต้ จินช็อน
41 2022 ธงของประเทศทาจิกิสถาน ทาจิกิสถาน ดูชานเบ 2022 ธงของประเทศอินเดีย อินเดีย นิวเดลี
42 2023  ไทย ระยอง 2023 ธงของประเทศมาเลเซีย มาเลเซีย นีไล
43 2024 ธงของประเทศคาซัคสถาน คาซัคสถาน 2024 ธงของประเทศอินเดีย อินเดีย นิวเดลี

อ้างอิง

[แก้]
  1. To Separate the Asian Track and Road Championships from 2017 and To Organize the 2015 Asian Road Championships in Thailand at Night Time— Asian Cycling Confederation เก็บถาวร 2019-05-04 ที่ archive.today
  2. "India and Bahrain to co-host 2017 Asian Cycling Championships". CYCLING iQ. 2016-04-13. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-08-27. สืบค้นเมื่อ 2019-05-05.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]