จักรพรรดิเกิงหยิน
จักรพรรดิเกิงหยิน 朱以海 | |||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
จักรพรรดิแห่งราชวงศ์หมิงใต้ | |||||||||||||
ครองราชย์ | ค.ศ. 1645–1655 | ||||||||||||
ประสูติ | 6 กรกฎาคม ค.ศ. 1618 | ||||||||||||
สวรรคต | 23 ธันวาคม 1662 (พระชนมายุ 44 พรรษา) | ||||||||||||
| |||||||||||||
ราชวงศ์ | ราชวงศ์หมิงใต้ | ||||||||||||
พระราชบิดา | จู โฉวหยง (朱壽鏞) เจ้าชายแห่งหลู่ | ||||||||||||
พระราชมารดา | พระชายาหวัง (王氏) |
จักรพรรดิเกิงหยิน (จีน: 庚寅; ค.ศ. 1618–1662),[2][3][4] พระนามเดิม จู หยีไห่ (จีน: 朱以海) เป็นจักรพรรดิแห่งราชวงศ์หมิงใต้ ครองราชย์ตั้งแต่ค.ศ. 1645 ถึง 1655
เจ้าชายแห่งหลู่เป็นส่วนหนึ่งของการต่อต้านกองกำลังราชวงศ์ชิงผู้บุกรุกเข้ามา ภรรยาคนแรกของพระองค์คุณหญิงเฉิน (元妃) ได้ฆ่าตัวตายระหว่างการล่มสลายของราชวงศ์หมิง
ในปี ค.ศ. 1651 พระองค์หนีไปที่เกาะจินเหมิน ซึ่งในปี ค.ศ. 1663 ก็ถูกกองกำลังบุกรุกเข้ายึดครอง[5] หลุมฝังพระศพของพระองค์ถูกค้นพบบนเกาะในปี 1959 ซึ่งหักล้างทฤษฎีในศตวรรษที่ 18 เรื่องประวัติศาสตร์ราชวงศ์หมิงว่า พระองค์ถูกปลงพระชนม์โดยเจิ้ง เฉิงกง พระราชโอรสองค์โตของพระองค์ จู หงฮวน (朱弘桓) อภิเษกกับลูกสาวคนที่สี่ของเจิ้ง เฉิงกง และไปอาศัยอยู่ในอาณาจักรตงหนิง บนเกาะไต้หวันภายใต้การคุ้มครองของเจิ้ง จิง พี่เขยของเขา และทำงานเป็นชาวนา[6][7] เจ้าชายหมิงอีกพระองค์ที่มาพร้อมกับเจิ้ง เฉิงกง ที่ไปไต้หวันคือเจ้าชายแห่งหนิงจิง จู ฉูกุ้ย
หลังจากการยอมจำนนของราชอาณาจักรตงหนิงต่อราชวงศ์ชิง ได้ส่งเจ้าชายหมิง 17 พระองค์ที่ยังคงอาศัยอยู่บนไต้หวันกลับไปยังจีนแผ่นดินใหญ่ซึ่งพวกเขาได้ใช้ชีวิตที่เหลืออยู่อย่างสงบ[8] รวมทั้ง จู หงฮวน
อ้างอิง
[แก้]- ↑ "哪些虚假庙号谥号被新闻媒体、杂志书籍当作真实的写入报道或资料中? – 知乎". www.zhihu.com. สืบค้นเมื่อ 11 December 2017.
- ↑ Marcus Bingenheimer (15 March 2016). Island of Guanyin: Mount Putuo and Its Gazetteers. Oxford University Press. pp. 23–. ISBN 978-0-19-045620-7.
- ↑ Lynn A. Struve (1993). Voices from the Ming-Qing Cataclysm: China in Tigers' Jaws. Yale University Press. pp. 114–. ISBN 978-0-300-07553-3.
- ↑ Jonathan D. Spence (20 September 2007). Return to Dragon Mountain: Memories of a Late Ming Man. Penguin Publishing Group. pp. 123–. ISBN 978-1-4406-2027-0.
- ↑ Frederic Wakeman Jr. (1986). Great Enterprise: The Manchu Reconstruction of the Imperial Order in Seventeenth-century China. University of California Press. p. 114. ISBN 0-520-04804-0. สืบค้นเมื่อ 2011-06-06.
- ↑ Brief Biographies of Historical Figures in Taiwan: From the Ming and Qing to the Japanese Occupation (臺灣歷史人物小傳—明清暨日據時期). National Library of Taiwan. December 2, 2003. p. 102.
- ↑ "Historic Documents on Taiwan (臺灣文獻)". 41 (3 & 4). 1990. สืบค้นเมื่อ 14 February 2012.
{{cite journal}}
: Cite journal ต้องการ|journal=
(help) - ↑ Manthorpe 2008, p. 108.