ข้ามไปเนื้อหา

คาเปอรนาอุม

พิกัด: 32°52′52″N 35°34′30″E / 32.88111°N 35.57500°E / 32.88111; 35.57500
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
คาเปอรนาอุม
כְּפַר נַחוּם
โบสถ์ยิวคาเปอรนาอุม
คาเปอรนาอุมตั้งอยู่ในประเทศอิสราเอล
คาเปอรนาอุม
แสดงที่ตั้งภายในประเทศอิสราเอล
ที่ตั้งประเทศอิสราเอล
ภูมิภาคทะเลกาลิลี
พิกัด32°52′52″N 35°34′30″E / 32.88111°N 35.57500°E / 32.88111; 35.57500
ประเภทนิคม
ความเป็นมา
วัฒนธรรมฮัสโมเนียน, โรมัน
หมายเหตุเกี่ยวกับสถานที่
สภาพร้าง

คาเปอรนาอุม (อังกฤษ: Capernaum, /kəˈpɜːrnəm, -niəm/ kə-pur-nay-əm-,_;[1] ฮีบรู: כְּפַר נַחוּם, อักษรโรมัน: Kfar Naḥum, แปลตรงตัว'หมู่บ้านของนาฮูม'; อาหรับ: كفر ناحوم, อักษรโรมัน: Kafr Nāḥūm) เป็นหมู่บ้านประมงที่ก่อตั้งขึ้นในสมัยของราชวงศ์ฮัสโมเนียน ตั้งอยู่บนชายฝั่งด้านเหนือของทะเลกาลิลี[2] มีประชากรประมาณ 1,500 คนในคริสต์ศตวรรษที่ 1[3] การขุดค้นทางโบราณคดีได้เผยโบสถ์ยิวโบราณ 2 แห่งที่สร้างขึ้นซ้อนทับกัน[4] บ้านที่กลายเป็นโบสถ์โดยจักรวรรดิไบแซนไทน์นั้น ธรรมเนียมของคริสต์ศาสนิกชนเชื่อว่าเป็นบ้านของนักบุญเปโตร[4]

โบสถ์ยิวในคริสต์ศตวรรษที่ 4 ที่คาเปอรนาอุม (แสดงภาพของเสาและที่นั่งยาว)

หมู่บ้านคาเปอรนาอุมมีผู้อาศัยอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ศตวรรษที่ 2 ก่อนคริสตกาลจนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 11 จากนั้นจึงถูกทิ้งร้างในช่วงก่อนสงครามครูเสดครั้งที่ 1[5] มีการสร้างหมู่บ้านใหม่ขึ้นทางตะวันออกเฉียงเหนือของที่ตั้งเดิมเมื่อประมาณ ค.ศ. 700 ในยุคอิสลามช่วงต้น[5]

อ้างอิง

[แก้]
  1. "Capernaum". Merriam-Webster Dictionary.
  2. Freedman, DN 2000, Eerdmans Dictionary of the Bible, Amsterdam University Press
  3. Reed 2002[ต้องการเลขหน้า]
  4. 4.0 4.1 "Capernaum-City of Jesus and its Jewish Synagogue". Consulate General of Israel to the Mid-Atlantic. สืบค้นเมื่อ 24 December 2022.
  5. 5.0 5.1 Gideon Avni (2014). The Byzantine-Islamic Transition in Palestine: An Archaeological Approach. Oxford Studies in Byzantium. Oxford University Press. pp. 88–89, 90 for site plan of Early Muslim period village. ISBN 9780199684335. สืบค้นเมื่อ 15 April 2016.

อ่านเพิ่มเติม

[แก้]
  • Freyne, Sean (2001). "A Galilean Messiah?". Studia Theologica. 55 (2): 198–218. doi:10.1080/003933801753330660. S2CID 170735101. Contains an analysis of the singled-out 1st-century AD house as a courtyard rather than a room or house.
  • Loffreda, Stanislao (1974). Cafarnao. Vol. II. La Ceramica. Jerusalem: Franciscan Printing Press. Technical publication (in original Italian) of the western site.
  • Loffreda, Stanislao (1984). Recovering Capharnaum. Jerusalem: Edizioni Custodia Terra Santa. ASIN B0007BOTZY. Non-technical English summary of the excavations on the western (Franciscan) portion of the site.
  • Jerome Murphy-O'Connor, Oxford Archaeological Guides: The Holy Land (Oxford, 1998), 217–220. ASIN 0192880136
  • Reed, Jonathan L. (2002). Archaeology and the Galilean Jesus: A Reexamination of the Evidence. Harrisburg: A&C Black. ISBN 9781563383946.
  • James F. Strange and Hershel Shanks, "Has the House Where Jesus Stayed in Capernaum Been Found?," Biblical Archaeology Review 8, 6 (Nov./Dec. 1982), 26–37. Critique of the domus-ecclesia claims.
  • Tzaferis, Vassilios (1989). Excavations at Capernaum, 1978–1982. Winona Lake, Indiana: Eisenbrauns. ISBN 0-931464-48-X. Overview publication of the dig on the eastern portion of the site.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]