กีฬาฟุตบอลในโอลิมปิกฤดูร้อน 2020 – ทีมหญิง
รายละเอียดการแข่งขัน | |
---|---|
ประเทศเจ้าภาพ | ญี่ปุ่น |
วันที่ | 21 กรกฎาคม – 6 สิงหาคม 2021 |
ทีม | 12 (จาก 6 สมาพันธ์) |
สถานที่ | 6 (ใน 6 เมืองเจ้าภาพ) |
อันดับเมื่อสิ้นสุดการแข่งขัน | |
ชนะเลิศ | แคนาดา (สมัยที่ 1) |
รองชนะเลิศ | สวีเดน |
อันดับที่ 3 | สหรัฐอเมริกา |
อันดับที่ 4 | ออสเตรเลีย |
สถิติการแข่งขัน | |
จำนวนนัดที่แข่งขัน | 26 |
จำนวนประตู | 101 (3.88 ประตูต่อนัด) |
ผู้ชม | 13,913 (535 คนต่อนัด) |
ผู้ทำประตูสูงสุด | Vivianne Miedema (10 ประตู) |
กีฬาฟุตบอล ใน โอลิมปิกฤดูร้อน 2020 | ||
---|---|---|
รอบคัดเลือก | ||
ชาย | หญิง | |
รายการ | ||
ชาย | หญิง | |
รายชื่อ | ||
ชาย | หญิง | |
การแข่งขันกีฬาฟุตบอลในโอลิมปิกฤดูร้อน 2020 – ทีมหญิง เป็น 1 ใน 2 รายการแข่งขันฟุตบอลที่โตเกียว ประเทศญี่ปุ่น จะจัดขึ้นระหว่างวันที่ 21 กรกฎาคม - 6 สิงหาคม ค.ศ. 2021 ครั้งนี้จัดการแข่งขันกีฬาฟุตบอลในโอลิมปิกเป็นครั้งที่ 7 ในโอลิมปิกฤดูร้อน จัดขึ้น ณ สนามกีฬาใน 6 เมือง
ปฏิทินการแข่งขัน
[แก้]เวลาทั้งหมดเป็นเวลามาตรฐานญี่ปุ่น (UTC+9).[1]
G | รอบแบ่งกลุ่ม | ¼ | รอบก่อนรองชนะเลิศ | ½ | รองรองชนะเลิศ | B | รอบชิงเหรียญทองแดง | F | รอบชิงเหรียญทอง |
22 Thu | 23 Fri | 24 Sat | 25 Sun | 26 Mon | 27 Tue | 28 Wed | 29 Thu | 30 Fri | 31 Sat | 1 Sun | 2 Mon | 3 Tue | 4 Wed | 5 Thu | 6 Fri | 7 Sat |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
G | G | G | ¼ | ½ | B | F |
การคัดเลือก
[แก้]การคัดเลือก | อ้างอิง | วันที่1 | ประเทศที่จัดแข่งขัน1 | จำนวนทีม | ทีมที่เข้ารอบ |
---|---|---|---|---|---|
เจ้าภาพ | 7 กันยายน 2013 | — | 1 | ญี่ปุ่น | |
โกปาอาเมริกาหญิง 2018 | [2] | 4–22 เมษายน 2018 | ชิลี | 1 | บราซิล |
โอเอฟซีเนชันส์คัพหญิง 2018 | [3] | 18 พฤศจิกายน – 1 ธันวาคม 2018 | นิวแคลิโดเนีย | 1 | นิวซีแลนด์ |
ฟุตบอลโลกหญิง 2019 (ถือเป็นรอบคัดเลือก UEFA) |
[4] | 7 มิถุนายน – 7 กรกฎาคม 2019 | ฝรั่งเศส | 3 | บริเตนใหญ่ เนเธอร์แลนด์ สวีเดน |
ฟุตบอลหญิงโอลิมปิกรอบคัดเลือก 2020 โซนคอนคาแคฟ | [5] | 28 มกราคม – 9 กุมภาพันธ์ 2020 | สหรัฐอเมริกา | 2 | แคนาดา สหรัฐอเมริกา |
ฟุตบอลหญิงโอลิมปิกรอบคัดเลือก ซีเอเอฟ 2020 | [6] | 5–10 มีนาคม 2020 | Various | 1 | แซมเบีย |
ฟุตบอลหญิงโอลิมปิกรอบคัดเลือก เอเอฟซี 2020 | [7] | 6–11 มีนาคม 2020 และ 8–13 เมษายน 2021 | Various | 2 | จีน ออสเตรเลีย |
เพลย์ออฟ | 10–13 เมษายน 2021 | Various | 1 | ชิลี | |
รวม | 12 |
- ^4 วันที่และประเทศที่จัดการแข่งขันในการแข่งขันรอบสุดท้าย ส่วนในการแข่งขันรอบแรกอาจแข่งขันในสถานที่ที่แตกต่างกัน
- ^5 อังกฤษ ได้อันดับที่ 3 ของสมาชิกยูฟ่าในการแข่งขันฟุตบอลโลก แต่อังกฤษไม่ได้เป็นสมาชิกคณะกรรมการโอลิมปิกสากล และการเจรจาที่จะให้แข่งขันในชื่อสหราชอาณาจักรไม่สำเร็จ
- ^6 การแข่งขันโอลิมปิกครั้งแรก
สนามแข่งขัน
[แก้]ทัวร์นาเมนต์นี้จะจัดขึ้นในเจ็ดสนามแข่งขันทั่วหกเมือง:
- สนามกีฬาคาชิมะ, คาชิมะ
- สนามกีฬามิยากิ, ริฟุ
- สนามกีฬาไซตามะ 2002, ไซตามะ
- ซัปโปโระโดม, ซัปโปโระ
- กรีฑาสถานแห่งชาติ, โตเกียว
- สนามกีฬาโตเกียว, โตเกียว
- สนามกีฬานานาชาติโยโกฮามะ, โยโกฮามะ
ผู้ตัดสิน
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
การจับสลาก
[แก้]การจับสลากสำหรับทัวร์นาเมนต์ได้จัดขึ้นเมื่อวันที่ 21 เมษายน พ.ศ. 2564, 10:00 CEST (UTC+2), ที่ สำนักงานใหญ่ฟีฟ่า ใน ซือริช, ประเทศสวิตเซอร์แลนด์.[8]
โถ 1 | โถ 2 | โถ 3 | โถ 4 |
---|---|---|---|
|
|
|
|
รอบแบ่งกลุ่ม
[แก้]เวลาทั้งหมดเป็นเวลามาตรฐานญี่ปุ่น (UTC+9).[9]
กลุ่ม อี
[แก้]อันดับ | ทีม | เล่น | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ได้ | เสีย | ต่าง | คะแนน | การผ่านเข้ารอบ |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | บริเตนใหญ่ | 3 | 2 | 1 | 0 | 4 | 1 | +3 | 7 | ผ่านเข้าสู่ รอบแพ้คัดออก |
2 | แคนาดา | 3 | 1 | 2 | 0 | 4 | 3 | +1 | 5 | |
3 | ญี่ปุ่น (H) | 3 | 1 | 1 | 1 | 2 | 2 | 0 | 4 | |
4 | ชิลี | 3 | 0 | 0 | 3 | 1 | 5 | −4 | 0 |
กลุ่ม เอฟ
[แก้]อันดับ | ทีม | เล่น | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ได้ | เสีย | ต่าง | คะแนน | การผ่านเข้ารอบ |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | เนเธอร์แลนด์ | 3 | 2 | 1 | 0 | 21 | 8 | +13 | 7 | ผ่านเข้าสู่ รอบแพ้คัดออก |
2 | บราซิล | 3 | 2 | 1 | 0 | 9 | 3 | +6 | 7 | |
3 | แซมเบีย | 3 | 0 | 1 | 2 | 7 | 15 | −8 | 1 | |
4 | จีน | 3 | 0 | 1 | 2 | 6 | 17 | −11 | 1 |
จีน | 0–5 | บราซิล |
---|---|---|
รายงาน (โตเกียว 2020) รายงาน (ฟีฟ่า) |
Marta 9', 74' Debinha 22' Andressa 82' (ลูกโทษ) Beatriz 89' |
แซมเบีย | 3–10 | เนเธอร์แลนด์ |
---|---|---|
Banda 19', 82', 83' | รายงาน (โตเกียว 2020) รายงาน (ฟีฟ่า) |
Miedema 9', 15', 29', 59' Martens 14', 38' Van de Sanden 44' Roord 64' Beerensteyn 75' Pelova 80' |
จีน | 4–4 | แซมเบีย |
---|---|---|
|
รายงาน (โตเกียว 2020) รายงาน (ฟีฟ่า) |
|
เนเธอร์แลนด์ | 8–2 | จีน |
---|---|---|
|
รายงาน (โตเกียว 2020) รายงาน (ฟีฟ่า) |
|
กลุ่ม จี
[แก้]อันดับ | ทีม | เล่น | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ได้ | เสีย | ต่าง | คะแนน | การผ่านเข้ารอบ |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | สวีเดน | 3 | 3 | 0 | 0 | 9 | 2 | +7 | 9 | ผ่านเข้าสู่ รอบแพ้คัดออก |
2 | สหรัฐอเมริกา | 3 | 1 | 1 | 1 | 6 | 4 | +2 | 4 | |
3 | ออสเตรเลีย | 3 | 1 | 1 | 1 | 4 | 5 | −1 | 4 | |
4 | นิวซีแลนด์ | 3 | 0 | 0 | 3 | 2 | 10 | −8 | 0 |
สวีเดน | 3–0 | สหรัฐอเมริกา |
---|---|---|
Blackstenius 25', 54' Hurtig 72' |
รายงาน (ไอโอซี) รายงาน (ฟีฟ่า) |
ออสเตรเลีย | 2–1 | นิวซีแลนด์ |
---|---|---|
Yallop 20' Kerr 33' |
รายงาน (โตเกียว 2020) รายงาน (ฟีฟ่า) |
Rennie 90+1' |
สวีเดน | 4–2 | ออสเตรเลีย |
---|---|---|
|
รายงาน (โตเกียว 2020) รายงาน (ฟีฟ่า) |
|
ตารางคะแนนของทีมอันดับที่สาม
[แก้]อันดับ | กลุ่ม | ทีม | เล่น | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ได้ | เสีย | ต่าง | คะแนน | การผ่านเข้ารอบ |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | E | ญี่ปุ่น | 3 | 1 | 1 | 1 | 2 | 2 | 0 | 4 | ผ่านเข้าสู่ รอบแพ้คัดออก |
2 | G | ออสเตรเลีย | 3 | 1 | 1 | 1 | 4 | 5 | −1 | 4 | |
3 | F | แซมเบีย | 3 | 0 | 1 | 2 | 7 | 15 | −8 | 1 |
กฏการจัดอันดับ: 1) Points; 2) Goal difference; 3) Goals scored; 4) Fair play points in all group matches; 5) Drawing of lots.
รอบแพ้คัดออก
[แก้]การแข่งขันในรอบแพ้คัดออกจะแข่งขันกันในเวลาปกติ 90 นาที หากเสมอกันจะต้องต่อเวลาพิเศษ 30 นาที โดยแบ่งเป็นครึ่งละ 15 นาที หากยังเสมอกันต้องดวลลูกโทษ เพื่อหาผู้ชนะ[11]
สายการแข่งขัน
[แก้]รอบก่อนรองชนะเลิศ | รอบรองชนะเลิศ | รอบชิงเหรียญทอง | ||||||||
30 กรกฎาคม – คาชิมะ | ||||||||||
บริเตนใหญ่ | 3 | |||||||||
2 สิงหาคม – โยโกฮามะ | ||||||||||
ออสเตรเลีย (ต่อเวลา) | 4 | |||||||||
ออสเตรเลีย | 0 | |||||||||
30 กรกฎาคม – ไซตามะ | ||||||||||
สวีเดน | 1 | |||||||||
สวีเดน | 3 | |||||||||
6 สิงหาคม – โยโกฮามะ | ||||||||||
ญี่ปุ่น | 1 | |||||||||
สวีเดน | 1 (2) | |||||||||
30 กรกฎาคม – โยโกฮามะ | ||||||||||
แคนาดา (ลูกโทษ) | 1 (3) | |||||||||
เนเธอร์แลนด์ | 2 (2) | |||||||||
2 สิงหาคม – คาชิมะ | ||||||||||
สหรัฐอเมริกา (ลูกโทษ) | 2 (4) | |||||||||
สหรัฐอเมริกา | 0 | |||||||||
30 กรกฎาคม – ริฟุ | ||||||||||
แคนาดา | 1 | รอบชิงเหรียญทองแดง | ||||||||
แคนาดา (ลูกโทษ) | 0 (4) | |||||||||
5 สิงหาคม – คาชิมะ | ||||||||||
บราซิล | 0 (3) | |||||||||
ออสเตรเลีย | 3 | |||||||||
สหรัฐอเมริกา | 4 | |||||||||
รอบก่อนรองชนะเลิศ
[แก้]บริเตนใหญ่ | 3–4 (ต่อเวลาพิเศษ) | ออสเตรเลีย |
---|---|---|
|
รายงาน (โตเกียว 2020) รายงาน (ฟีฟ่า) |
สวีเดน | 3–1 | ญี่ปุ่น |
---|---|---|
|
รายงาน (โตเกียว 2020) รายงาน (ฟีฟ่า) |
|
เนเธอร์แลนด์ | 2–2 (ต่อเวลาพิเศษ) | สหรัฐอเมริกา |
---|---|---|
|
รายงาน (โตเกียว 2020) รายงาน (ฟีฟ่า) |
|
ลูกโทษ | ||
2–4 |
รอบรองชนะเลิศ
[แก้]รอบชิงเหรียญทองแดง
[แก้]รอบชิงเหรียญทอง
[แก้]สถิติ
[แก้]อันดับประจำทัวร์นาเมนต์
[แก้]นัดที่มีผลแพ้ชนะในช่วงต่อเวลาพิเศษ จะถูกนับว่าเป็นชนะหรือแพ้ ในขณะที่นัดที่ตัดสินด้วยการยิงลูกโทษ จะถูกนับว่าเป็นการเสมอ
อันดับ | กลุ่ม | ทีม | เล่น | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ได้ | เสีย | ต่าง | คะแนน | ผลงาน |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | E | แคนาดา | 6 | 2 | 4 | 0 | 6 | 4 | +2 | 10 | เหรียญทอง |
2 | G | สวีเดน | 6 | 5 | 1 | 0 | 14 | 4 | +10 | 16 | เหรียญเงิน |
3 | G | สหรัฐอเมริกา | 6 | 2 | 2 | 2 | 12 | 10 | +2 | 8 | เหรียญทองแดง |
4 | G | ออสเตรเลีย | 6 | 2 | 1 | 3 | 11 | 13 | −2 | 7 | อันดับที่สี่ |
5 | F | เนเธอร์แลนด์ | 4 | 2 | 2 | 0 | 23 | 10 | +13 | 8 | ตกรอบก่อนรองชนะเลิศ |
6 | F | บราซิล | 4 | 2 | 2 | 0 | 9 | 3 | +6 | 8 | |
7 | E | บริเตนใหญ่ | 4 | 2 | 1 | 1 | 7 | 5 | +2 | 7 | |
8 | E | ญี่ปุ่น (H) | 4 | 1 | 1 | 2 | 3 | 5 | −2 | 4 | |
9 | F | แซมเบีย | 3 | 0 | 1 | 2 | 7 | 15 | −8 | 1 | ตกรอบแบ่งกลุ่ม |
10 | F | จีน | 3 | 0 | 1 | 2 | 6 | 17 | −11 | 1 | |
11 | E | ชิลี | 3 | 0 | 0 | 3 | 1 | 5 | −4 | 0 | |
12 | G | นิวซีแลนด์ | 3 | 0 | 0 | 3 | 2 | 10 | −8 | 0 |
อ้างอิง
[แก้]- ↑ "Match schedule for Tokyo 2020".
- ↑ "La Copa América Femenina se celebrará del 4 al 22 de abril". CONMEBOL.com. 21 July 2017.
- ↑ "OFC Women's Nations Cup confirmed". Oceania Football Confederation. 12 March 2018.
- ↑ "FIFA Women's World Cup fixtures/results". UEFA.com. 16 June 2019.
- ↑ "United States Set to Host 2020 CONCACAF Women's Olympic Qualifying Tournament". CONCACAF. Miami. 5 November 2019. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-11-05. สืบค้นเมื่อ 5 November 2019.
- ↑ "Tokyo 2020: Sierra Leone disqualified, Angola withdraws". CAF. 5 March 2019.
- ↑ "Asia's elite set to vie for two Tokyo 2020 tickets". Asian Football Confederation. 2 August 2018. สืบค้นเมื่อ 16 August 2018.
- ↑ "Tokyo 2020 Olympic draws to be held at the Home of FIFA". FIFA. 22 March 2021. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-03-22. สืบค้นเมื่อ 22 March 2021.
- ↑ "Men's Olympic Football Tournament Tokyo 2020 – Matches". FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-03-21. สืบค้นเมื่อ 6 February 2020.
- ↑ 10.00 10.01 10.02 10.03 10.04 10.05 10.06 10.07 10.08 10.09 10.10 10.11 10.12 10.13 10.14 10.15 10.16 10.17 10.18 10.19 10.20 10.21 10.22 10.23 10.24 10.25 "Attendance Summary" (PDF). Olympics.com. 24 July 2021. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2021-07-25. สืบค้นเมื่อ 24 July 2021. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่สมเหตุสมผล มีนิยามชื่อ "attendance" หลายครั้งด้วยเนื้อหาต่างกัน - ↑ อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อregulations