กีฬาฟุตบอลในโอลิมปิกฤดูร้อน 2016
รายละเอียดการแข่งขัน | |
---|---|
ประเทศเจ้าภาพ | บราซิล |
วันที่ | 3–20 สิงหาคม |
ทีม | ทีมชาย 16 ทีม + ทีมหญิง 12 ทีม (จาก 6 สมาพันธ์) |
สถานที่ | 7 (ใน 6 เมืองเจ้าภาพ) |
อันดับเมื่อสิ้นสุดการแข่งขัน | |
ชนะเลิศ | บราซิล (ชาย) เยอรมนี (หญิง) |
รองชนะเลิศ | เยอรมนี (ชาย) สวีเดน (หญิง) |
อันดับที่ 3 | ไนจีเรีย (ชาย) แคนาดา (หญิง) |
อันดับที่ 4 | ฮอนดูรัส (ชาย) บราซิล (หญิง) |
กีฬาฟุตบอล ใน โอลิมปิกฤดูร้อน 2016 | ||
---|---|---|
รอบคัดเลือก | ||
ชาย | หญิง | |
การแข่งขัน | ||
ชาย | หญิง | |
นักกีฬา | ||
ชาย | หญิง | |
กีฬาฟุตบอลในโอลิมปิกฤดูร้อน 2016 มีการแข่งขันช่วงระหว่างวันที่ 3 สิงหาคม ถึง 20 สิงหาคม พ.ศ. 2555 โดยมี 2 เหรียญทองสำหรับกีฬาชนิดนี้ ซึ่งมอบให้แก่ผู้ชนะเลิศในการแข่งขัน 2 ประเภท ได้แก่ ฟุตบอลชาย และ ฟุตบอลหญิง[1]
การแข่งขันหลักจะจัดที่รีโอเดจาเนโร แต่การแข่งขันจะจัดที่เซาเปาลู, เบลูโอรีซองชี, บราซิเลีย, ซัลวาดอร์, มาเนาช์ ด้วย โดยทั้ง 6 เมืองเคยจัดการแข่งขันฟุตบอลโลก 2014 โดยสนามกีฬาโอลิมปิกโฌเอา อาเวลังฌี เป็นสนามเดียวที่ไม่ได้จัดการแข่งขันฟุตบอลโลก[2][3]
คณะกรรมการโอลิมปิกแห่งชาติร่วมกับฟีฟ่า ในการส่งทีมเข้าร่วมการแข่งขัน โดยฟุตบอลชายจะเป็นชุดเยาวชนอายุไม่เกิน 23 ปี (ผู้เล่นต้องเกิดตั้งแต่ 1 มกราคม พ.ศ. 2536 เป็นต้นไป) โดยอนุญาตให้มีผู้เล่นที่อายุเกิน 23 ปีได้ไม่เกิน 3 คน ส่วนทีมฟุตบอลหญิงนั้นไม่จำกัดอายุ[4]
การแข่งขันในครั้งนี้ได้มีการเปิดเผยว่าจะใช้ลูกฟุตบอลประมาณ 430 ลูก[5]
ตารางการแข่งขัน
[แก้]ตารางการแข่งขันได้มีการประกาศอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558[6][7]
P | รอบคัดเลือก | ¼ | รอบก่อนรองชนะเลิศ | ½ | รอบนรองชนะเลิศ | B | รอบชิงอันดับที่ 3 | F | รอบชิงชนะเลิศ |
รายการ↓/วันที่→ | พ. 3 | พฤ. 4 | ศ. 5 | ส. 6 | อา. 7 | จ. 8 | อ. 9 | พ. 10 | พฤ. 11 | ศ. 12 | ส. 13 | อา.14 | จ. 15 | อ. 16 | พ. 17 | พฤ. 18 | ศ. 19 | ส. 20 |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ชาย | P | P | P | ¼ | ½ | B/F | ||||||||||||
หญิง | P | P | P | ¼ | ½ | B/F |
สนามแข่งขัน
[แก้]รีโอเดจาเนโร จะจัดการแข่งขันในรอบแรกที่สนามกีฬาโอลิมปิกโฌเอา อาเวลังฌี ส่วนนัดชิงชนะเลิศของฟุตบอลชายและหญิงจะแข่งขันที่สนามกีฬามารากานัง ในวันที่ 19 และ 20 สิงหาคม ตามลำดับ นอกจากรีโอเดจาเนโรแล้วยังมีเมืองที่จัดแข่งขันคือ เซาเปาลู, เบลูโอรีซองชี, บราซิเลีย, ซัลวาดอร์, มาเนาช์ ซึ่งเมืองข้างต้นนั้นเคยจัดการแข่งขันฟุตบอลโลก 2014[2] ส่วนสนามแข่งขันนัดชิงชนะเลิศนั้นได้รับการประกาศจากฟีฟ่า เมื่อวันที่ 16 มีนาคม พ.ศ. 2558[3]
รีโอเดจาเนโร รัฐรีโอเดจาเนโร | บราซิเลีย นครหลวงสหพันธ์ | เซาเปาลู รัฐเซาเปาลู | |
---|---|---|---|
สนามกีฬามารากานัง | สนามกีฬาโอลิมปิก | สนามกีฬาแห่งชาติมาแน การิงชา | อาเรนาโกริงชังส์ |
ความจุ: 74,738 ที่นั่ง[8] ปรับปรุงใหม่สำหรับการแข่งขันฟุตบอลโลก 2014 |
ความจุ: 60,000 ที่นั่ง ปรับปรุงใหม่สำหรับการแข่งขันโอลิมปิกฤดูร้อน 2016 |
ความจุ: 69,349 ที่นั่ง[8] ปรับปรุงใหม่สำหรับการแข่งขันฟุตบอลโลก 2014 |
ความจุ: 48,234 ที่นั่ง[8] สนามใหม่ในการแข่งขันฟุตบอลโลก 2014 |
เบลูโอรีซองชี รัฐมีนัชเจไรช์ | |||
มีเนย์เรา | |||
ความจุ: 58,170 ที่นั่ง[8] ปรับปรุงใหม่สำหรับการแข่งขันฟุตบอลโลก 2014 | |||
ซัลวาดอร์ รัฐบาเยีย | |||
อาเรนาฟงชีนอวา | |||
ความจุ: 51,900 ที่นั่ง[8] สนามใหม่ในการแข่งขันฟุตบอลโลก 2014 | |||
มาเนาช์ รัฐอามาโซนัส | |||
อาเรนาดาอามาโซเนีย | |||
ความจุ: 40,549 ที่นั่ง[8] สนามใหม่ในการแข่งขันฟุตบอลโลก 2014 | |||
ทีมที่เข้าแข่งขัน
[แก้]ทีมชาย
[แก้]ทีมชายมีทีมเข้าแข่งขันทั้งหมด 16 ทีม โดยแบ่งเป็นบราซิล ซึ่งเป็นเจ้าภาพ และอีก 15 ทีม จาก 6 สมาพันธ์ฟุตบอล[9]
การคัดเลือก | วันที่1 | ประเทศที่จัดแข่งขัน1 | จำนวนทีม | ทีมที่เข้ารอบ |
---|---|---|---|---|
เจ้าภาพ | 2 ตุลาคม 2552 | เดนมาร์ก | 1 | บราซิล |
ฟุตบอลชิงแชมป์เยาวชนอเมริกาใต้ 2015[10] | 14 มกราคม – 7 กุมภาพันธ์ 2558 | อุรุกวัย | 1 | อาร์เจนตินา |
ฟุตบอลเยาวชนชุดอายุไม่เกิน 21 ปีชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2015[11] | 17–30 มิถุนายน 2558 | เช็กเกีย | 4 | เดนมาร์ก |
เยอรมนี | ||||
โปรตุเกส | ||||
สวีเดน | ||||
แปซิฟิกเกมส์ 2015[12] | 3–17 กรกฎาคม 2558 | ปาปัวนิวกินี | 1 | ฟีจี2 |
ฟุตบอลโอลิมปิกรอบคัดเลือก 2015 โซนคอนคาแคฟ[13] | 1–13 ตุลาคม 2558 | สหรัฐ | 2 | ฮอนดูรัส |
เม็กซิโก | ||||
แอฟริกา ยู-23 คัพออฟเนชันส์ 2015[14] | 28 พฤศจิกายน – 12 ธันวาคม 2558 | เซเนกัล | 3 | แอลจีเรีย |
ไนจีเรีย | ||||
แอฟริกาใต้ | ||||
ฟุตบอลเยาวชนชุดอายุไม่เกิน 23 ปีชิงแชมป์เอเชีย 2016[15] | 12–30 มกราคม 2559 | กาตาร์ | 3 | อิรัก |
ญี่ปุ่น | ||||
เกาหลีใต้ | ||||
ฟุตบอลโอลิมปิกรอบคัดเลือก 2016 นัดเพลย์ออฟคอนคาเคฟ-คอนเมบอล | 25–29 มีนาคม 2559 | การแข่งขันเหย้า-เยือน3 | 1 | โคลอมเบีย |
รวม | 16 |
ทีมหญิง
[แก้]ทีมชายมีทีมเข้าแข่งขันทั้งหมด 12 ทีม โดยแบ่งเป็นบราซิล ซึ่งเป็นเจ้าภาพ และอีก 11 ทีม จาก 6 สมาพันธ์ฟุตบอล[9]
การคัดเลือก | วันที่4 | ประเทศที่จัดแข่งขัน4 | จำนวนทีม | ทีมที่เข้ารอบ | |
---|---|---|---|---|---|
เจ้าภาพ | 2 ตุลาคม 2552 | เดนมาร์ก | 1 | บราซิล | |
โกปาอาเมริกา 2014[16] | 11–28 กันยายน 2557 | เอกวาดอร์ | 1 | โคลอมเบีย | |
ฟุตบอลโลก 2015[17] (สำหรับทีมในยูฟ่า)5 |
6 มิถุนายน – 5 กรกฎาคม 2558 | แคนาดา | 2 | ฝรั่งเศส | |
เยอรมนี | |||||
ฟุตบอลหญิงโอลิมปิกรอบคัดเลือกโซนซีเอเอฟ 2015[14] | 2–18 ตุลาคม 2558 | การแข่งขันเหย้า-เยือน | 2 | แอฟริกาใต้ | |
ซิมบับเว6 | |||||
ฟุตบอลหญิงโอลิมปิกรอบคัดเลือก โอเอฟซี 2016[12] | 23 มกราคม 2559 | ปาปัวนิวกินี | 1 | นิวซีแลนด์ | |
ฟุตบอลหญิงโอลิมปิกรอบคัดเลือก คอนคาแคฟ 2016[18] | 10–21 กุมภาพันธ์ 2559 | สหรัฐ | 2 | แคนาดา | |
สหรัฐ | |||||
ฟุตบอลหญิงโอลิมปิกรอบคัดเลือก เอเอฟซี 2016[19] | 29 กุมภาพันธ์ – 9 มีนาคม 2559 | ญี่ปุ่น[20] | 2 | ออสเตรเลีย | |
จีน | |||||
ฟุตบอลหญิงโอลิมปิกรอบคัดเลือก ยูฟ่า 2016[21] | 2–9 มีนาคม 2559 | เนเธอร์แลนด์ | 1 | สวีเดน | |
รวม | 12 |
- ^4 วันที่และประเทศที่จัดการแข่งขันในการแข่งขันรอบสุดท้าย ส่วนในการแข่งขันรอบแรกอาจแข่งขันในสถานที่ที่แตกต่างกัน
- ^5 อังกฤษ ได้อันดับที่ 3 ของสมาชิกยูฟ่าในการแข่งขันฟุตบอลโลก แต่อังกฤษไม่ได้เป็นสมาชิกคณะกรรมการโอลิมปิกสากล และการเจรจาที่จะให้แข่งขันในชื่อสหราชอาณาจักรไม่สำเร็จ
- ^6 การแข่งขันโอลิมปิกครั้งแรก
การแข่งขันทีมชาย
[แก้]การแข่งขันประกอบด้วยรอบแบ่งกลุ่ม และ รอบแพ้คัดออก
รอบแบ่งกลุ่ม
[แก้]ทีมจะถูกแบ่งใน 4 กลุ่ม กลุ่มละ 4 ประเทศ โดยจะแข่งขันแบบพบกันหมด ซึ่งจะได้รับ 3 คะแนนหากชนะ, 1 คะแนนหากเสมอ 2 ทีมที่ได้คะแนนมากที่สุดของกลุ่มจะเข้าสู่รอบ 8 ทีม
กลุ่มเอ
[แก้]อันดับ | ทีม | เล่น | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ได้ | เสีย | ต่าง | คะแนน | การผ่านเข้ารอบ |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | บราซิล (H) | 3 | 1 | 2 | 0 | 4 | 0 | +4 | 5 | เข้าสู่ รอบก่อนรองชนะเลิศ |
2 | เดนมาร์ก | 3 | 1 | 1 | 1 | 1 | 4 | −3 | 4 | |
3 | อิรัก | 3 | 0 | 3 | 0 | 1 | 1 | 0 | 3 | |
4 | แอฟริกาใต้ | 3 | 0 | 2 | 1 | 1 | 2 | −1 | 2 |
กฎการจัดอันดับ : 1) คะแนน; 2) ผลต่างประตูได้-เสีย; 3) ประตูได้; 4) ทำซ้ำในข้อ 1–3 ในนัดการแข่งขันระหว่างทีมที่มีอันดับเท่ากัน; 5) จับฉลากโดยฟีฟ่า
(H) เจ้าภาพ.
กลุ่มบี
[แก้]อันดับ | ทีม | เล่น | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ได้ | เสีย | ต่าง | คะแนน | การผ่านเข้ารอบ |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | ไนจีเรีย | 3 | 2 | 0 | 1 | 6 | 6 | 0 | 6 | เข้าสู่ รอบก่อนรองชนะเลิศ |
2 | โคลอมเบีย | 3 | 1 | 2 | 0 | 6 | 4 | +2 | 5 | |
3 | ญี่ปุ่น | 3 | 1 | 1 | 1 | 7 | 7 | 0 | 4 | |
4 | สวีเดน | 3 | 0 | 1 | 2 | 2 | 4 | −2 | 1 |
กฎการจัดอันดับ : 1) คะแนน; 2) ผลต่างประตูได้-เสีย; 3) ประตูได้; 4) ทำซ้ำในข้อ 1–3 ในนัดการแข่งขันระหว่างทีมที่มีอันดับเท่ากัน; 5) จับฉลากโดยฟีฟ่า
กลุ่มซี
[แก้]อันดับ | ทีม | เล่น | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ได้ | เสีย | ต่าง | คะแนน | การผ่านเข้ารอบ |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | เกาหลีใต้ | 3 | 2 | 1 | 0 | 12 | 3 | +9 | 7 | เข้าสู่ รอบก่อนรองชนะเลิศ |
2 | เยอรมนี | 3 | 1 | 2 | 0 | 15 | 5 | +10 | 5 | |
3 | เม็กซิโก | 3 | 1 | 1 | 1 | 7 | 4 | +3 | 4 | |
4 | ฟีจี | 3 | 0 | 0 | 3 | 1 | 23 | −22 | 0 |
กฎการจัดอันดับ : 1) คะแนน; 2) ผลต่างประตูได้-เสีย; 3) ประตูได้; 4) ทำซ้ำในข้อ 1–3 ในนัดการแข่งขันระหว่างทีมที่มีอันดับเท่ากัน; 5) จับฉลากโดยฟีฟ่า
กลุ่มดี
[แก้]อันดับ | ทีม | เล่น | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ได้ | เสีย | ต่าง | คะแนน | การผ่านเข้ารอบ |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | โปรตุเกส | 3 | 2 | 1 | 0 | 5 | 2 | +3 | 7 | เข้าสู่ รอบ 8 ทีม |
2 | ฮอนดูรัส | 3 | 1 | 1 | 1 | 5 | 5 | 0 | 4 | |
3 | อาร์เจนตินา | 3 | 1 | 1 | 1 | 3 | 4 | −1 | 4 | |
4 | แอลจีเรีย | 3 | 0 | 1 | 2 | 4 | 6 | −2 | 1 |
กฎการจัดอันดับ : 1) คะแนน; 2) ผลต่างประตูได้-เสีย; 3) ประตูได้; 4) ทำซ้ำในข้อ 1–3 ในนัดการแข่งขันระหว่างทีมที่มีอันดับเท่ากัน; 5) จับฉลากโดยฟีฟ่า
รอบแพ้คัดออก
[แก้]รอบก่อนรองชนะเลิศ | รอบรองชนะเลิศ | รอบชิงเหรียญทอง | ||||||||
13 สิงหาคม — เซาเปาลู | ||||||||||
บราซิล | 2 | |||||||||
17 สิงหาคม — รีโอเดจาเนโร | ||||||||||
โคลอมเบีย | 0 | |||||||||
บราซิล | 6 | |||||||||
13 สิงหาคม — เบลูโอรีซองชี | ||||||||||
ฮอนดูรัส | 0 | |||||||||
เกาหลีใต้ | 0 | |||||||||
20 สิงหาคม — รีโอเดจาเนโร | ||||||||||
ฮอนดูรัส | 1 | |||||||||
บราซิล | 1 (5) | |||||||||
13 สิงหาคม — ซัลวาดอร์ | ||||||||||
เยอรมนี | 1 (4) | |||||||||
ไนจีเรีย | 2 | |||||||||
17 สิงหาคม — เซาเปาลู | ||||||||||
เดนมาร์ก | 0 | |||||||||
ไนจีเรีย | 0 | |||||||||
13 สิงหาคม — บราซิเลีย | ||||||||||
เยอรมนี | 2 | รอบชิงเหรียญทองแดง | ||||||||
โปรตุเกส | 0 | |||||||||
20 สิงหาคม — เบลูโอรีซองชี | ||||||||||
เยอรมนี | 4 | |||||||||
ฮอนดูรัส | 2 | |||||||||
ไนจีเรีย | 3 | |||||||||
การแข่งขันทีมหญิง
[แก้]รอบแบ่งกลุ่ม
[แก้]ทีมจะถูกแบ่งใน 3 กลุ่ม กลุ่มละ 4 ประเทศ โดยจะแข่งขันแบบพบกันหมด รวมทั้งหมด 3 นัด ซึ่งจะได้รับ 3 คะแนนหากชนะ, 1 คะแนนหากเสมอ 2 ทีมที่ได้คะแนนมากที่สุดของกลุ่มจะเข้าสู่รอบ 8 ทีม
กลุ่มอี
[แก้]อันดับ | ทีม | เล่น | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ได้ | เสีย | ต่าง | คะแนน | การผ่านเข้ารอบ |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | บราซิล (H) | 3 | 2 | 1 | 0 | 8 | 1 | +7 | 7 | รอบก่อนรองชนะเลิศ |
2 | จีน | 3 | 1 | 1 | 1 | 2 | 3 | −1 | 4 | |
3 | สวีเดน | 3 | 1 | 1 | 1 | 2 | 5 | −3 | 4 | |
4 | แอฟริกาใต้ | 3 | 0 | 1 | 2 | 0 | 3 | −3 | 1 |
กฎการจัดอันดับ : 1) คะแนน; 2) ผลต่างประตูได้-เสีย; 3) ประตูได้; 4) ทำซ้ำในข้อ 1–3 ในนัดการแข่งขันระหว่างทีมที่มีอันดับเท่ากัน; 5) จับฉลากโดยฟีฟ่า
(H) เจ้าภาพ.
กลุ่ม เอฟ
[แก้]อันดับ | ทีม | เล่น | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ได้ | เสีย | ต่าง | คะแนน | การผ่านเข้ารอบ |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | แคนาดา | 3 | 3 | 0 | 0 | 7 | 2 | +5 | 9 | รอบก่อนรองชนะเลิศ |
2 | เยอรมนี | 3 | 1 | 1 | 1 | 9 | 5 | +4 | 4 | |
3 | ออสเตรเลีย | 3 | 1 | 1 | 1 | 8 | 5 | +3 | 4 | |
4 | ซิมบับเว | 3 | 0 | 0 | 3 | 3 | 15 | −12 | 0 |
กฎการจัดอันดับ : 1) คะแนน; 2) ผลต่างประตูได้-เสีย; 3) ประตูได้; 4) ทำซ้ำในข้อ 1–3 ในนัดการแข่งขันระหว่างทีมที่มีอันดับเท่ากัน; 5) จับฉลากโดยฟีฟ่า
กลุ่ม จี
[แก้]อันดับ | ทีม | เล่น | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ได้ | เสีย | ต่าง | คะแนน | การผ่านเข้ารอบ |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | สหรัฐ | 3 | 2 | 1 | 0 | 5 | 2 | +3 | 7 | รอบก่อนรองชนะเลิศ |
2 | ฝรั่งเศส | 3 | 2 | 0 | 1 | 7 | 1 | +6 | 6 | |
3 | นิวซีแลนด์ | 3 | 1 | 0 | 2 | 1 | 5 | −4 | 3 | |
4 | โคลอมเบีย | 3 | 0 | 1 | 2 | 2 | 7 | −5 | 1 |
กฎการจัดอันดับ : 1) คะแนน; 2) ผลต่างประตูได้-เสีย; 3) ประตูได้; 4) ทำซ้ำในข้อ 1–3 ในนัดการแข่งขันระหว่างทีมที่มีอันดับเท่ากัน; 5) จับฉลากโดยฟีฟ่า
รอบแพ้คัดออก
[แก้]รอบก่อนรองชนะเลิศ | รอบรองชนะเลิศ | รอบชิงเหรียญทอง | ||||||||
12 สิงหาคม — เบลูโอรีซองชี | ||||||||||
บราซิล (p) | 0 (7) | |||||||||
16 สิงหาคม — รีโอเดจาเนโร | ||||||||||
ออสเตรเลีย | 0 (6) | |||||||||
บราซิล | 0 (3) | |||||||||
12 สิงหาคม — บราซิเลีย | ||||||||||
สวีเดน | 0 (4) | |||||||||
สหรัฐ | 1 (3) | |||||||||
19 สิงหาคม — รีโอเดจาเนโร | ||||||||||
สวีเดน (p) | 1 (4) | |||||||||
สวีเดน | 1 | |||||||||
12 สิงหาคม — เซาเปาลู | ||||||||||
เยอรมนี | 2 | |||||||||
แคนาดา | 1 | |||||||||
16 สิงหาคม — เบลูโอรีซองชี | ||||||||||
ฝรั่งเศส | 0 | |||||||||
แคนาดา | 0 | |||||||||
12 สิงหาคม — ซัลวาดอร์ | ||||||||||
เยอรมนี | 2 | รอบชิงเหรียญทองแดง | ||||||||
จีน | 0 | |||||||||
19 สิงหาคม — เซาเปาลู | ||||||||||
เยอรมนี | 1 | |||||||||
บราซิล | 1 | |||||||||
แคนาดา | 2 | |||||||||
สรุปเหรียญ
[แก้]ตารางเหรียญการแข่งขัน
[แก้]อันดับที่ | ประเทศ | ทอง | เงิน | ทองแดง | รวม |
---|---|---|---|---|---|
1 | เยอรมนี | 1 | 1 | 0 | 2 |
2 | บราซิล* | 1 | 0 | 0 | 1 |
2 | สวีเดน | 0 | 1 | 0 | 1 |
4 | แคนาดา | 0 | 0 | 1 | 1 |
ไนจีเรีย | 0 | 0 | 1 | 1 | |
รวม | 2 | 2 | 2 | 6 |
ผู้ที่ได้รับเหรียญ
[แก้]อ้างอิง
[แก้]- ↑ "Circular no. 1383 - Olympic Football Tournaments Rio 2016 - Men's and Women's Tournaments" (PDF). FIFA.com. 1 October 2013. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2018-12-12. สืบค้นเมื่อ 2 October 2013.
- ↑ 2.0 2.1 "Manaus enters race to host Rio 2016 Olympic Games football matches". Rio 2016 official website. 12 กุมภาพันธ์ 2558. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-02-13. สืบค้นเมื่อ 2016-07-23.
- ↑ 3.0 3.1 "Olympic Football Tournaments to be played in six cities and seven stadiums". FIFA.com. 16 March 2015. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-03-20. สืบค้นเมื่อ 2016-07-23.
- ↑ "Regulations for the Olympic Football Tournaments 2016" (PDF). FIFA.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2016-04-18. สืบค้นเมื่อ 2016-07-23.
- ↑ "8,400 shuttlecocks, 250 golf carts, 54 boats... the mind-blowing numbers behind the Rio 2016 Games". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-07-07. สืบค้นเมื่อ 2016-07-23.
- ↑ "Match schedule for Rio 2016 unveiled". FIFA.com. 10 November 2015. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-08-08. สืบค้นเมื่อ 2016-07-23.
- ↑ "Match Schedule Olympic Football Tournaments Rio 2016" (PDF). FIFA.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2019-02-04. สืบค้นเมื่อ 2016-07-23.
- ↑ 8.0 8.1 8.2 8.3 8.4 8.5 "2014 FIFA World Cup Brazil Venues". FIFA.com. 18 January 2012. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-10-21. สืบค้นเมื่อ 12 June 2014.
- ↑ 9.0 9.1 "FIFA ratifies the distribution of seats corresponding to each confederation". CONMEBOL.com. 4 April 2014. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-11-05. สืบค้นเมื่อ 5 November 2014.
- ↑ "Reglamento – Campeonato Sudamericano Sub-20 Juventud de América 2015" (PDF). CONMEBOL.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2016-03-03. สืบค้นเมื่อ 2016-07-23.
- ↑ "Regulations of the UEFA European Under-21 Championship, 2013–15 competition" (PDF). UEFA.
- ↑ 12.0 12.1 "OFC Insider Issue 6". Oceania Football Confederation. March 11, 2015. p. 8.
- ↑ "United States Named Host for CONCACAF Men's Olympic Qualifying Championship 2015". CONCACAF.com. 12 February 2015. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-02-14. สืบค้นเมื่อ 13 February 2015.
- ↑ 14.0 14.1 "CAF Full Calendar". CAFonline.com. 28 February 2015. สืบค้นเมื่อ 28 February 2015.
- ↑ "Regulations AFC U-23 Championship 2016" (PDF). AFC. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2017-08-30. สืบค้นเมื่อ 2016-07-23.
- ↑ "Reglamento – Copa América Femenina 2014" (PDF) (ภาษาสเปน). CONMEBOL. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2016-03-03. สืบค้นเมื่อ 2016-07-23.
- ↑ "Germany and Norway drawn together". UEFA.com. 6 December 2014.
- ↑ "2016 CONCACAF Women's Olympic Qualifying Championship Will be Played in Dallas and Houston". US Soccer. August 12, 2015.
- ↑ "Groups drawn for First Round of Rio 2016 Women's Qualifiers". Asian Football Confederation. 2014-12-04. สืบค้นเมื่อ 2014-12-04.
- ↑ "Football - Women's AFC Olympic Qualifying Tournament". Australian Olympic Committee. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-08-09. สืบค้นเมื่อ 28 July 2015.
- ↑ "European contenders impress in Canada". UEFA.com. 18 June 2015.