ข้ามไปเนื้อหา

กีฬาฮอกกี้ในโอลิมปิกฤดูร้อน 2016

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ฮอกกี้
ในโอลิมปิกครั้งที่ 31
สนามOlympic Hockey Center
วันที่7-20 สิงหาคม พ.ศ. 2559
← 2012
2020 →

การแข่งขันฮอกกี้ในโอลิมปิกฤดูร้อน 2016 เป็นการแข่งขันฮอกกี้โอลิมปิกที่จะจัดขึ้นในรีโอเดจาเนโร ประเทศบราซิล กำหนดแข่งขันระหว่างวันที่ 7-20 สิงหาคม พ.ศ. 2559 ที่สนาม Olympic Hockey Center

การคัดเลือก

[แก้]

ทีมชาย

[แก้]
วันที่
รายการ สถานที่ ทีมที่ผ่านการคัดเลือก
2 October 2009 Host nation ประเทศเดนมาร์ก Copenhagen, Denmark  บราซิล (tbc)
20 September–2 October 2014 เอเชียนเกมส์ 2014 ประเทศเกาหลีใต้ Incheon, South Korea  อินเดีย
3–14 มิถุนายน 2015 2014–15 Men's FIH Hockey World League Semifinals ประเทศอาร์เจนตินา Buenos Aires, Argentina  เยอรมนี
 อาร์เจนตินา
 เนเธอร์แลนด์
20 มิถุนายน–5 July 2015 ประเทศเบลเยียม Antwerp, Belgium
14–25 July 2015 2015 Pan American Games ประเทศแคนาดา Toronto, Canada
22–30 August 2015 2015 EuroHockey Nations Championship ประเทศอังกฤษ London, England
17–25 October 2015 2015 African Qualifying Tournament ประเทศอียิปต์ Ismaïlia, Egypt
17–25 October 2015 2015 Oceania Cup ประเทศนิวซีแลนด์ Stratford, New Zealand
รวม 12

ทีมหญิง

[แก้]
วันที่ รายการ สถานที่ ทีมที่ผ่านการคัดเลือก
20 September–2 October 2014 เอเชียนเกมส์ 2014 ประเทศเกาหลีใต้ Incheon, South Korea  เกาหลีใต้
10–21 June 2015 2014–15 Women's FIH Hockey World League Semifinals ประเทศสเปน Valencia, Spain  บริเตนใหญ่
 จีน
 เยอรมนี
20 June–5 July 2015 ประเทศเบลเยียม Antwerp, Belgium
13–24 July 2015 2015 Pan American Games ประเทศแคนาดา Toronto, Canada
22–30 August 2015 2015 EuroHockey Nations Championship ประเทศอังกฤษ London, England
17–25 October 2015 2015 African Qualifying Tournament ประเทศอียิปต์ Ismaïlia, Egypt
17–25 October 2015 2015 Oceania Cup ประเทศนิวซีแลนด์ Stratford, New Zealand
รวม 12

อันดับการแข่งขัน

[แก้]

ทีมชาย

[แก้]
อันดับ ทีม Pld W D L GF GA GD Pts
 อาร์เจนตินา 8 5 2 1 25 17 +8 17
 เบลเยียม 8 6 0 2 29 11 +18 18
 เยอรมนี 8 5 2 1 23 18 +5 17
4  เนเธอร์แลนด์ 8 4 2 2 24 10 +14 14
ตกรอบในรอบก่อนรองชนะเลิศ
5  สเปน 6 3 1 2 14 8 +6 10
6  ออสเตรเลีย 6 3 0 3 13 8 +5 9
7  นิวซีแลนด์ 6 2 1 3 19 11 +8 7
8  อินเดีย 6 2 1 3 10 12 −2 7
ตกรอบในรอบแบ่งกลุ่ม
9  บริเตนใหญ่ 5 1 2 2 14 10 +4 5
10  ไอร์แลนด์ 5 1 0 4 10 16 −6 3
11  แคนาดา 5 0 1 4 7 22 −15 1
12  บราซิล 5 0 0 5 1 46 −45 0

ทีมหญิง

[แก้]
อันดับ ทีม Pld W D L GF GA GD Pts
 บริเตนใหญ่ 8 7 1 0 21 8 +13 22
 เนเธอร์แลนด์ 8 5 3 0 20 7 +13 18
 เยอรมนี 8 4 2 2 11 9 +2 14
4  นิวซีแลนด์ 8 4 1 3 16 12 +4 13
ตกรอบในรอบก่อนรองชนะเลิศ
5  สหรัฐ 6 4 0 2 15 7 +8 12
6  ออสเตรเลีย 6 3 0 3 13 9 +4 9
7  อาร์เจนตินา 6 2 0 4 14 9 +5 6
8  สเปน 6 2 0 4 7 15 −8 6
ตกรอบในรอบแบ่งกลุ่ม
9  จีน 5 1 2 2 3 5 −2 5
10  ญี่ปุ่น 5 0 1 4 3 16 −13 1
11  เกาหลีใต้ 5 0 1 4 3 13 −10 1
12  อินเดีย 5 0 1 4 3 19 −16 1

สรุปเหรียญ

[แก้]

ตารางเหรียญ

[แก้]
อันดับที่ ประเทศ ทอง เงิน ทองแดง รวม
1  อาร์เจนตินา 1 0 0 1
 บริเตนใหญ่ 1 0 0 1
3  เบลเยียม 0 1 0 1
 เนเธอร์แลนด์ 0 1 0 1
5  เยอรมนี 0 0 2 2
รวม 5 ประเทศ 2 2 2 2

ผู้ที่ได้รับเหรียญ

[แก้]
รายการ เหรียญทอง เหรียญเงิน เหรียญทองแดง
ทีมชาย  อาร์เจนตินา (ARG)  เบลเยียม (BEL)  เยอรมนี (GER)
หญิง  สหราชอาณาจักร (GBR)  เนเธอร์แลนด์ (NED)  เยอรมนี (GER)

อ้างอิง

[แก้]