ข้ามไปเนื้อหา

การเมืองจีน

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
การเมืองของ
สาธารณรัฐประชาชนจีน

中华人民共和国政治
ระบบรัฐคอมมิวนิสต์ ภายใต้ระบบสภาประชาชน
รัฐธรรมนูญรัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน
ก่อตั้ง1 ตุลาคม ค.ศ. 1949
กำลังนำของรัฐและสังคม
พรรคพรรคคอมมิวนิสต์จีน
เลขาธิการสี จิ้นผิง
องค์กรสูงสุดสภาแห่งชาติ
องค์กรพรรคการเมืองสูงสุดคณะกรรมาธิการกลาง
องค์กรการเมืองกรมการเมือง
องค์กรบริหารสำนักเลขาธิการ
องค์กรทหารคณะกรรมการการทหารส่วนกลาง
องค์กรกำกับดูแลคณะกรรมการสอบวินัยส่วนกลาง
องค์กรที่มีอำนาจสูงสุดของรัฐ
การประชุมเต็มรูปแบบ
ชื่อสภาประชาชนแห่งชาติ
ประเภทสภาเดียว
คณะผู้บริหารคณะผู้บริหารสูงสุด
สถานที่ประชุมมหาศาลาประชาชน ปักกิ่ง
องค์กรสามัญ
คณะกรรมาธิการสามัญคณะกรรมาธิการสามัญ
ประธานจ้าว เล่อจี้
เลขาธิการหลิว ฉี
ฝ่ายบริหาร
ชื่อคณะมนตรีรัฐกิจ
หัวหน้ารัฐบาล
คำเรียกนายกรัฐมนตรี
ปัจจุบันหลี่ เฉียง
ผู้แต่งตั้งประธานาธิบดี
วาระปัจจุบันคณะมนตรีรัฐกิจ ชุดที่ 14
สำนักงานใหญ่จงหนานไห่
กระทรวง26
ฝ่ายทหาร
ชื่อคณะกรรมการการทหาร่วนกลาง
ประธานสี จิ้นผิง
รองประธานจาง โย่วเสีย และเหอ เว่ย์ตง
ฝ่ายกำกับดูแล
ชื่อคณะกรรมการกำกับดูแลแห่งชาติ
ผู้อำนวยการหลิว จินกั๋ว
รองผู้อำนวยการเสี่ยว เผย์, ยฺหวี หงชิว, ฟู่ ขุย, ซุน ซินหยาง, หลิว สฺเวซิน และจาง ฟู่ไห่
ฝ่ายตุลาการ
ชื่อศาลประชาชนสูงสุด
ประธานศาลจาง จฺวิน (ประธาน)
ที่ตั้งปักกิ่ง
ฝ่ายอัยการ
ชื่อสำนักงานอัยการประชาชนสูงสุด
หัวหน้าอิง หย่ง (อัยการสูงสุด)
ที่ตั้งปักกิ่ง

ในประเทศจีน การเมืองดำเนินภายในกรอบรัฐคอมมิวนิสต์ตามระบบสภาประชาชนภายใต้การนำของพรรคคอมมิวนิสต์จีน โดยสภาประชาชนแห่งชาติทำหน้าที่เป็นองค์กรสูงสุดของอำนาจรัฐ และเป็นสาขาเดียวของรัฐบาลที่ยึดตามหลักการของอำนาจรวม พรรคคอมมิวนิสต์จีนเป็นผู้นำกิจกรรมของรัฐโดยครองที่นั่งสองในสามในสภาประชาชนแห่งชาติ และสมาชิกพรรคเหล่านี้มีหน้าที่รับผิดชอบการนำนโยบายที่คณะกรรมาธิการกลางพรรคคอมมิวนิสต์จีนและสภาแห่งชาติกำหนดไว้ไปปฏิบัติ ตามหลักประชาธิปไตยแบบรวมอำนาจ สภาประชาชนแห่งชาติมีอำนาจควบคุมรัฐได้ไม่จำกัดตามข้อจำกัดที่ตนเองกำหนดไว้ เมื่อควบคุมสภาประชาชนแห่งชาติแล้ว พรรคคอมมิวนิสต์จีนก็จะมีอำนาจควบคุมรัฐได้เบ็ดเสร็จ เขตบริหารพิเศษสองแห่งของจีน ได้แก่ ฮ่องกงและมาเก๊า เป็นอิสระจากระบบนี้โดยกฎหมาย

ระบบการเมืองของจีนถือเป็นระบบเผด็จการ[1][2][3][4][5][6] ไม่มีผู้นำระดับชาติที่ได้รับการเลือกตั้งอย่างเสรี ฝ่ายค้านทางการเมืองถูกปราบปราม กิจกรรมทางศาสนาทั้งหมดถูกควบคุมโดยพรรคคอมมิวนิสต์จีน ไม่อนุญาตให้มีความเห็นต่าง และสิทธิพลเมืองถูกจำกัด[7][8] การเลือกตั้งโดยตรงเกิดขึ้นเฉพาะในระดับท้องถิ่นเท่านั้น ไม่ใช่ระดับชาติ โดยการเสนอชื่อผู้สมัครทั้งหมดจะอยู่ภายใต้การควบคุมของพรรคคอมมิวนิสต์จีน[9][10][11][12][13][14]

ธรรมชาติของการเลือกตั้งถูกจำกัดอย่างมากโดยการผูกขาดอำนาจของพรรคคอมมิวนิสต์จีน การตรวจพิจารณา และการควบคุมการเลือกตั้งของพรรค[15][16] ตามที่รอรี ทรูเอกซ์ นักวิชาการจากโรงเรียนรัฐศาสตร์และกิจการระหว่างประเทศพรินซ์ตันกล่าวไว้ว่า "พรรคคอมมิวนิสต์จีนควบคุมกระบวนการเสนอชื่อและการเลือกตั้งอย่างเข้มงวดในทุกระดับของระบบรัฐสภาประชาชน... กลไกการเลือกตั้งทางอ้อมแบบแบ่งชั้นในระบบรัฐสภาประชาชนทำให้มั่นใจได้ว่า ส.ส. ในระดับสูงสุดจะไม่ต้องเผชิญกับความรับผิดชอบต่อประชาชนจีนในการเลือกตั้ง"[17]

อ้างอิง

[แก้]
  1. Truex, Rory (2016-10-28). Making Autocracy Work (ภาษาอังกฤษ). Cambridge University Press. ISBN 978-1-107-17243-2. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 8 March 2023. สืบค้นเมื่อ 17 July 2021.
  2. Mattingly, Daniel C. (2019-12-05). The Art of Political Control in China (ภาษาอังกฤษ). Cambridge University Press. ISBN 978-1-316-99791-8. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 8 March 2023. สืบค้นเมื่อ 17 July 2021.
  3. Tang, Wenfang (2016-01-04). Populist Authoritarianism: Chinese Political Culture and Regime Sustainability (ภาษาอังกฤษ). Oxford University Press. ISBN 978-0-19-049081-2. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 17 November 2023. สืบค้นเมื่อ 17 July 2021.
  4. Nathan, Andrew J.; Diamond, Larry; Plattner, Marc F. (2013-09-01). Will China Democratize? (ภาษาอังกฤษ). Johns Hopkins University Press. ISBN 978-1-4214-1244-3. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 17 November 2023. สืบค้นเมื่อ 17 July 2021.
  5. Teets, Jessica C. (2014-06-09). Civil Society under Authoritarianism: The China Model (ภาษาอังกฤษ). Cambridge University Press. ISBN 978-1-107-03875-2. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 17 November 2023. สืบค้นเมื่อ 17 July 2021.
  6. Heurlin, Christopher (2016-10-27). Responsive Authoritarianism in China: Land, Protests, and Policy Making (ภาษาอังกฤษ). Cambridge University Press. ISBN 978-1-108-10780-8. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 17 November 2023. สืบค้นเมื่อ 17 July 2021.
  7. Economy, Elizabeth C. (2021-10-25). The World According to China (ภาษาอังกฤษ). John Wiley & Sons. ISBN 978-1-5095-3751-8. OCLC 1251737887. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 7 August 2022. สืบค้นเมื่อ 7 August 2022.
  8. "China: Freedom in the World 2021 Country Report". Freedom House (ภาษาอังกฤษ). เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 24 July 2023. สืบค้นเมื่อ 2021-07-17.
  9. Gandhi, Jennifer; Lust-Okar, Ellen (2009-06-01). "Elections Under Authoritarianism". Annual Review of Political Science (ภาษาอังกฤษ). 12 (1): 403–422. doi:10.1146/annurev.polisci.11.060106.095434. ISSN 1094-2939.
  10. Geddes, Barbara; Wright, Joseph; Frantz, Erica (2018). How Dictatorships Work. Cambridge University Press. p. 141. doi:10.1017/9781316336182. ISBN 978-1-316-33618-2. S2CID 226899229.
  11. Landry, Pierre F.; Davis, Deborah; Wang, Shiru (2010-06-01). "Elections in Rural China: Competition Without Parties". Comparative Political Studies (ภาษาอังกฤษ). 43 (6): 763–790. doi:10.1177/0010414009359392. ISSN 0010-4140. S2CID 43175132.
  12. Manion, Melanie (2017-03-01). ""Good Types" in Authoritarian Elections: The Selectoral Connection in Chinese Local Congresses". Comparative Political Studies (ภาษาอังกฤษ). 50 (3): 362–394. doi:10.1177/0010414014537027. ISSN 0010-4140. S2CID 155166131.
  13. Lee, Ching Kwan; Zhang, Yonghong (2013-05-01). "The Power of Instability: Unraveling the Microfoundations of Bargained Authoritarianism in China". American Journal of Sociology. 118 (6): 1475–1508. doi:10.1086/670802. ISSN 0002-9602. S2CID 144559373.
  14. Wallace, Jeremy L. (2016). "Juking the Stats? Authoritarian Information Problems in China". British Journal of Political Science (ภาษาอังกฤษ). 46 (1): 11–29. doi:10.1017/S0007123414000106. ISSN 0007-1234. S2CID 154275103.
  15. Hernández, Javier C. (2016-11-15). "'We Have a Fake Election': China Disrupts Local Campaigns". The New York Times (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). ISSN 0362-4331. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 5 November 2021. สืบค้นเมื่อ 2021-11-05.
  16. "The West once dreamed of democracy taking root in rural China". The Economist. 2021-01-14. ISSN 0013-0613. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 5 November 2021. สืบค้นเมื่อ 2021-11-05.
  17. Truex, Rory (2016-10-28). Making Autocracy Work (ภาษาอังกฤษ). Cambridge University Press. pp. 52, 111. ISBN 978-1-107-17243-2. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 8 March 2023. สืบค้นเมื่อ 17 July 2021.