การลงประชามติแยกเป็นเอกราช
หน้าตา
การลงประชามติแยกเป็นเอกราช (อังกฤษ: Independence referendum) คือ การลงประชามติประเภทหนึ่งซึ่งพลเมืองในดินแดนหนึ่งตัดสินว่าดินแดนนั้นควรเป็นประเทศเอกราชใหม่หรือไม่
ขั้นตอน
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
การเจรจาต่อรอง
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ควันหลง
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
การลงประชามติในอดีต
[แก้]รัฐที่เสนอ | ปี | เสนอเป็นเอกราชจาก | ฝ่ายข้างมาก | เอกราช | การรับรอง | หมายเหตุ |
---|---|---|---|---|---|---|
ชิลี | 1817 | สเปน | ใช่ | ใช่ | ไม่ | ประกาศเอกราชเพียงฝ่ายเดียว |
ไลบีเรีย | 1846 | American Colonization Society | ใช่ | ใช่ | ใช่ | |
แมริแลนด์ | 1853 | Maryland State Colonization Society | ใช่ | ใช่ | ใช่ | |
นอร์เวย์ | 1905 | สวีเดน–นอร์เวย์ | ใช่ | ใช่ | ใช่ | |
ไอซ์แลนด์ | 1918 | เดนมาร์ก | ใช่ | ใช่ | ใช่ | |
รัฐเวสเทิร์นออสเตรเลีย | 1933 | ออสเตรเลีย | ใช่ | ไม่ | ไม่ | |
กัมพูชา | 1945 | ฝรั่งเศส | ใช่ | ใช่ | ใช่ | |
มองโกเลีย | 1945 | จีน | ใช่ | ใช่ | ใช่ | เดิมทีสาธารณรัฐจีนให้การรับรอง แต่ภายหลังถอดถอนใน ค.ศ. 1953 สาธารณรัฐประชาชนจีนให้การรับรอง |
หมู่เกาะแฟโร | 1946 | เดนมาร์ก | ใช่ | ไม่ | ไม่ | ทางเดนมาร์กประกาศให้เป็นโมฆะ |
นิวฟันด์แลนด์ | 1948 | สหราชอาณาจักร | ไม่ | ไม่ | ใช่ | รวมเข้ากับแคนาดา |
รัฐนากาแลนด์ | 1951 | อินเดีย | ใช่ | ไม่ | ไม่ | รัฐบาลอินเดียไม่รับรอง[1] |
ซาร์ | 1955 | ฝรั่งเศส | ไม่ | ไม่ | ใช่ | รวมเข้ากับประเทศเยอรมนีตะวันตก |
แคเมอรูน | 1958 | ไม่ | ไม่ | ใช่ | การลงประชามติตามรัฐธรรมนูญฝรั่งเศส การไม่ลงคะแนนเสียงจะนำสู่การเป็นเอกราช | |
สาธารณรัฐแอฟริกากลาง | 1958 | ไม่ | ไม่ | ใช่ | ||
ชาด | 1958 | ไม่ | ไม่ | ใช่ | ||
คอโมโรส | 1958 | ไม่ | ไม่ | ใช่ | ||
สาธารณรัฐคองโก | 1958 | ไม่ | ไม่ | ใช่ | ||
ดาโฮมีย์ | 1958 | ไม่ | ไม่ | ใช่ | ||
จิบูตี | 1958 | ไม่ | ไม่ | ใช่ | ||
เฟรนช์พอลินีเชีย | 1958 | ไม่ | ไม่ | ใช่ | ||
กาบอง | 1958 | ไม่ | ไม่ | ใช่ | ||
กินี | 1958 | ใช่ | ใช่ | ใช่ | ||
โกตดิวัวร์ | 1958 | ไม่ | ไม่ | ใช่ | ||
มาดากัสการ์ | 1958 | ไม่ | ไม่ | ใช่ | ||
มาลี | 1958 | ไม่ | ไม่ | ใช่ | ||
มอริเตเนีย | 1958 | ไม่ | ไม่ | ใช่ | ||
นิวแคลิโดเนีย | 1958 | ไม่ | ไม่ | ใช่ | ||
ไนเจอร์ | 1958 | ไม่ | ไม่ | ใช่ | ||
แซ็งปีแยร์และมีเกอลง | 1958 | ไม่ | ไม่ | ใช่ | ||
เซเนกัล | 1958 | ไม่ | ไม่ | ใช่ | ||
อัปเปอร์วอลตา | 1958 | ไม่ | ไม่ | ใช่ | ||
ซามัว | 1961 | นิวซีแลนด์ | ใช่ | ใช่ | ใช่ | |
แอลจีเรีย | 1962 | ฝรั่งเศส | ใช่ | ใช่ | ใช่ | |
มอลตา | 1964 | สหราชอาณาจักร | ใช่ | ใช่ | ใช่ | |
โรดีเชีย | 1964 | ใช่ | โดยพฤตินัย | ไม่ | ประกาศเอกราชเพียงฝ่ายเดียว | |
จิบูตี | 1967 | ฝรั่งเศส | ไม่ | ไม่ | ใช่ | |
ปวยร์โตรีโก | 1967 | สหรัฐอเมริกา | ไม่ | ไม่ | ใช่ | |
ปาปัวตะวันตก | 1969 | อินโดนีเซีย | ไม่ | ไม่ | ใช่ | |
หมู่เกาะนอร์เทิร์นมาเรียนา | 1969 | สหรัฐอเมริกา | ไม่ | ไม่ | ใช่ | |
บาห์เรน | 1970 | สหราชอาณาจักร | ใช่ | ใช่ | ใช่ | |
นีวเว | 1974 | นิวซีแลนด์ | ส่วนใหญ่โหวตยอมรับ | ได้รับสถานะรัฐพึ่งพิง | ใช่ | กลางเป็นรัฐพึ่งพิงของนิวซีแลนด์ |
คอโมโรส | 1974 | ฝรั่งเศส | ใช่ | ใช่ | ใช่ | มายอตยังคงอยู่กับฝรั่งเศส |
ดินแดนในภาวะทรัสตีแห่งหมู่เกาะแปซิฟิก | 1975 | สหรัฐอเมริกา | ไม่ | ไม่ | ใช่ | |
กวม | 1976 | ไม่ | ไม่ | ใช่ | ||
อารูบา | 1977 | เนเธอร์แลนด์ | ใช่ | ไม่ | ใช่ | ยกเลิกแผนเอกราชใน ค.ศ. 1994 |
จิบูตี | 1977 | ฝรั่งเศส | ใช่ | ใช่ | ใช่ | |
เนวิส | 1977 | ใช่ | ไม่ | ไม่ | การทำประชามติการเป็นเอกราชจากเซนต์คริสโตเฟอร์-เนวิส-แองกวิลลาและได้รับสถานะคราวน์โคโลนีในจักรวรรดิบริติชอย่างไม่เป็นทางการ รัฐบาลกลางไม่รับรอง | |
รัฐเกแบ็ก | 1980 | แคนาดา | ไม่ | ไม่ | ใช่ | |
ซิสเก | 1980 | แอฟริกาใต้ | ใช่ | โดยพฤตินัย | Partial | แอฟริกาใต้ให้การรับรอง แต่นานาชาติไม่รับรอง |
กวม | 1982 | สหรัฐอเมริกา | ไม่ | ไม่ | ใช่ | |
ไมโครนีเชีย | 1983 | ใช่ | ใช่ | ใช่ | กลายเป็นรัฐพึ่งพิงของสหรัฐ | |
หมู่เกาะมาร์แชลล์ | 1983 | ไม่ | ไม่ | ใช่ | ||
ปาเลา | 1983 | ไม่ | ไม่ | ใช่ | กลายเป็นรัฐพึ่งพิงของสหรัฐ | |
1984 | ไม่ | ไม่ | ใช่ | |||
หมู่เกาะโคโคส | 1984 | ออสเตรเลีย | ไม่ | ไม่ | ใช่ | |
หมู่เกาะฟอล์กแลนด์ | 1986 | สหราชอาณาจักร | ไม่ | ไม่ | ใช่ | |
นิวแคลิโดเนีย | 1987 | ฝรั่งเศส | ไม่ | ไม่ | ใช่ | |
สโลวีเนีย | 1990 | ยูโกสลาเวีย | ใช่ | ใช่ | ใช่ | ประกาศเอกราชเพียงฝ่ายเดียว |
อาร์มีเนีย | 1991 | สหภาพโซเวียต | ใช่ | ใช่ | ใช่ | |
อาเซอร์ไบจาน | 1991 | ใช่ | ใช่ | ใช่ | ||
โครเอเชีย | 1991 | ยูโกสลาเวีย | ใช่ | ใช่ | ใช่ | ประกาศเอกราชเพียงฝ่ายเดียว |
เอสโตเนีย | 1991 | สหภาพโซเวียต | ใช่ | ใช่ | ใช่ | |
จอร์เจีย | 1991 | ใช่ | ใช่ | ใช่ | ||
คอซอวา | 1991 | ยูโกสลาเวีย | ใช่ | ไม่ | ไม่ | ประเทศแอลเบเนียเป็นประเทศเดียวที่ให้การรับรอง |
ลัตเวีย | 1991 | สหภาพโซเวียต | ใช่ | ใช่ | ใช่ | |
ลิทัวเนีย | 1991 | ใช่ | ใช่ | ใช่ | ||
มาซิโดเนียเหนือ | 1991 | ยูโกสลาเวีย | ใช่ | ใช่ | ใช่ | |
นากอร์โน-คาราบัค | 1991 | สหภาพโซเวียต | ใช่ | โดยพฤตินัย | ไม่ | ประกาศเอกราชเพียงฝ่ายเดียว |
ยูเครน | 1991 | ใช่ | ใช่ | ใช่ | ||
ทรานส์นีสเตรีย | 1991 | ใช่ | โดยพฤตินัย | ไม่ | ประกาศเอกราชเพียงฝ่ายเดียว | |
สาธารณรัฐกากาอุซ | 1991 | ใช่ | โดยพฤตินัย[2] | ไม่ | แยกจากมอลโดวาเป็นฝ่ายเดียว ภายหลังรวมประเทศใน ค.ศ. 1995 | |
เติร์กเมนิสถาน | 1991 | ใช่ | ใช่ | ใช่ | ||
อุซเบกิสถาน | 1991 | ใช่ | ใช่ | ใช่ | ||
บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา | 1992 | ยูโกสลาเวีย | ใช่ | ใช่ | ใช่ | ประกาศเอกราชเพียงฝ่ายเดียว |
มอนเตเนโกร | 1992 | ไม่ | ไม่ | ใช่ | มอนเตเนโกรแยกออกจากประเทศเซอร์เบียและมอนเตเนโกรใน ค.ศ. 2006 | |
เซาท์ออสซีเชีย | 1992 | จอร์เจีย | ใช่ | โดยพฤตินัย | ไม่ | ประกาศเอกราชเพียงฝ่ายเดียว |
สาธารณรัฐตาตาร์สตาน | 1992 | รัสเซีย | ใช่ | ใช่ | ไม่ | รวมเข้ากับรัสเซียใน ค.ศ. 1994 |
เอริเทรีย | 1993 | เอธิโอเปีย | ใช่ | ใช่ | ใช่ | |
หมู่เกาะเวอร์จินของสหรัฐ | 1993 | สหรัฐอเมริกา | ไม่ | ไม่ | ใช่ | |
ปวยร์โตรีโก | 1993 | ไม่ | ไม่ | ใช่ | ||
กูราเซา | 1993 | เนเธอร์แลนด์ | ไม่ | ไม่ | ใช่ | |
โบแนเรอ | 1994 | ไม่ | ไม่ | ใช่ | ||
ซินต์มาร์เติน | 1994 | ไม่ | ไม่ | ใช่ | ||
ซาบา | 1994 | ไม่ | ไม่ | ใช่ | ||
ซินต์เอิสตาซียึส | 1994 | ไม่ | ไม่ | ใช่ | ||
เบอร์มิวดา | 1995 | สหราชอาณาจักร | ไม่ | ไม่ | ใช่ | |
รัฐเกแบ็ก | 1995 | แคนาดา | ไม่ | ไม่ | ใช่ | |
Seborga | 1995[3] | อิตาลี | ใช่ | ไม่ | ไม่ | ถือเป็นประเทศจำลอง |
Anjouan | 1997 | คอโมโรส | ใช่ | โดยพฤตินัย | ไม่ | รวมเข้ากับคอโมโรสใน ค.ศ. 2001 |
เนวิส | 1998 | เซนต์คิตส์และเนวิส | ใช่ | ไม่ | ใช่ | ต้องการจำนวนผู้เลือกเป็นเอกราช 2 ใน 3 |
ปวยร์โตรีโก | 1998 | สหรัฐอเมริกา | ไม่ | ไม่ | ใช่ | |
ติมอร์-เลสเต | 1999 | อินโดนีเซีย | ใช่ | ใช่ | ใช่ | |
ซินต์มาร์เติน | 2000 | เนเธอร์แลนด์ | ไม่ | ไม่ | ใช่ | |
โซมาลีแลนด์ | 2001 | โซมาเลีย | ใช่ | โดยพฤตินัย | ไม่ | |
โบแนเรอ | 2004 | เนเธอร์แลนด์ | ไม่ | ไม่ | ใช่ | |
ซาบา | 2004 | ไม่ | ไม่ | ใช่ | ||
เคอร์ดิสถานอิรัก | 2005 | อิรัก | ใช่ | ไม่ | ไม่ | |
กูราเซา | 2005 | เนเธอร์แลนด์ | ไม่ | ไม่ | ใช่ | |
ซินต์เอิสตาซียึส | 2005 | ไม่ | ไม่ | ใช่ | ||
มอนเตเนโกร | 2006 | เซอร์เบียและมอนเตเนโกร | ใช่ | ใช่ | ใช่ | |
เซาท์ออสซีเชีย | 2006 | จอร์เจีย | ใช่ | โดยพฤตินัย | ไม่ | |
ทรานส์นีสเตรีย | 2006 | มอลโดวา | ใช่ | โดยพฤตินัย | ไม่ | |
โตเกเลา | 2006 | นิวซีแลนด์ | ส่วนใหญ่โหวตยอมรับ แต่ไม่ถึงจำนวนขั้นต่ำ |
ไม่ได้รับสถานะพึ่งพิง | ใช่ | การลงประชามติมีขึ้นว่า โตเกเลาควรเป็นรัฐพึ่งพิงของนิวซีแลนด์หรือไม่ ต้องการผลโหวตยอมรับส่วนใหญ่ในอัตรา 2 ใน 3 |
2007 | ส่วนใหญ่โหวตยอมรับ แต่ไม่ถึงจำนวนขั้นต่ำ |
ไม่ได้รับสถานะพึ่งพิง | ใช่ | |||
ทมิฬอีฬัม | 2009-2010 | ศรีลังกา | ใช่ | ไม่ | ไม่ | การลงประชามติอย่างไม่เป็นทางการ รัฐบาลศรีลังกาไม่ให้การรับรอง |
ซูดานใต้ | 2011 | ซูดาน | ใช่[4] | ใช่ | ใช่ | |
ปวยร์โตรีโก | 2012 | สหรัฐอเมริกา | ไม่ | ไม่ | ใช่ | |
ดอแนตสก์ | 2014 | ยูเครน | ใช่[5] | โดยพฤตินัย[6] | ไม่ | ประกาศเอกราชเพียงฝ่ายเดียว |
ลูฮันสก์ | 2014 | ใช่[5] | โดยพฤตินัย[6] | ไม่ | ประกาศเอกราชเพียงฝ่ายเดียว | |
แคว้นเวเนโต | 2014 | อิตาลี | ใช่ | ไม่ | ไม่ | การลงประชามติอย่างไม่เป็นทางการ รัฐบาลอิตาลีไม่ให้การรับรอง |
สกอตแลนด์ | 2014 | สหราชอาณาจักร | ไม่ | ไม่ | ใช่ | |
แคว้นกาตาลุญญา | 2014 | สเปน | ใช่ | ไม่ | ไม่ | |
ซินต์เอิสตาซียึส | 2014 | เนเธอร์แลนด์ | ไม่ | ไม่ | ใช่ | |
บราซิลใต้ | 2016 | บราซิล | ใช่ | ไม่ | ไม่ | การลงประชามติอย่างไม่เป็นทางการ รัฐบาลบราซิลไม่ให้การรับรอง |
ปวยร์โตรีโก | 2017 | สหรัฐอเมริกา | ไม่ | ไม่ | ใช่ | |
เคอร์ดิสถานอิรัก | 2017 | อิรัก | ใช่ | ไม่[7] | ไม่ | การจัดประชามติจัดขั้นในดินแดนพิพาทในอิรักเหนือ |
แคว้นกาตาลุญญา | 2017 | สเปน | ใช่ | ไม่[8] | ไม่ | ประกาศเอกราชเพียงฝ่ายเดียว รัฐบาลสเปนประกาศให้เป็นโมฆะ[9] |
บราซิลใต้ | 2017 | บราซิล | ใช่ | ไม่ | ไม่ | การลงประชามติอย่างไม่เป็นทางการ รัฐบาลบราซิลไม่ให้การรับรอง |
นิวแคลิโดเนีย | 2018 | ฝรั่งเศส | ไม่ | ไม่ | ใช่ | |
บูเกนวิลล์ | 2019 | ปาปัวนิวกินี | ใช่ | ขึ้นอยู่กับการเจรจา[10] | ใช่ | การลงคะแนนแบบไม่ผูกมัด[11] ความเป็นเอกราชขึ้นอยู่กับรัฐสภาปาปัวนิวกินี[12] |
นิวแคลิโดเนีย | 2020 | ฝรั่งเศส | ไม่ | ไม่[13] | ใช่ | |
2021 | ไม่ | ไม่ | ใช่ | คว่ำบาตรโดยพรรคที่สนับสนุนเอกราช[14] |
ดูเพิ่ม
[แก้]อ้างอิง
[แก้]- ↑ Walling, A. Wati; Agrawal, Ankush; Phom, B. Henshet (1 January 2018). Democracy In Nagaland: Tribes, Traditions, and Tensions (ภาษาอังกฤษ). Highlander Press. ISBN 9780692070314.
- ↑ Marcin Kosienkowski (2017) The Gagauz Republic: An Autonomism-Driven De Facto State The Soviet and Post-Soviet Review, volume 44, no. 3, pp292–313
- ↑ Roth, Christopher F. (March 2015). Let's Split! A Complete Guide to Separatist Movements and Aspirant Nations, from Abkhazia to Zanzibar (PDF). Litwin Books, LLC. p. 90.
In 1995, Giorgio held a referendum, with Seborgans opting for independence 304-4.
- ↑ South Sudan backs independence – results
- ↑ 5.0 5.1 "In eastern Ukraine, polls close amid allegations of double-voting - CNN.com". CNN. 11 May 2014. สืบค้นเมื่อ 30 September 2014.
- ↑ 6.0 6.1 "Russia Praises Ukraine's Autonomy Law for Rebel Areas". WSJ. 17 September 2014. สืบค้นเมื่อ 30 September 2014.
- ↑ "Iraqi Kurds offer to 'freeze' independence referendum result". BBC. 25 October 2017. สืบค้นเมื่อ 27 October 2017.
- ↑ Catalonia independence: Spain takes charge of Catalan government BBC News, 28 October 2017
- ↑ Suspendida la declaración de independencia de Cataluña (ในภาษาสเปน)
- ↑ Lyons, Kate (2019-12-10). "Bougainville referendum: region votes overwhelmingly for independence from Papua New Guinea". The Guardian. สืบค้นเมื่อ 2019-12-11.
- ↑ "Bougainville referendum not binding - PM". Radio New Zealand (ภาษาNew Zealand English). 2019-03-11. สืบค้นเมื่อ 2019-03-18.
- ↑ Mckenna, Kylie; Ariku, Emelda (19 November 2021). "Bougainville independence: recalling promises of international help". The Interpreter. สืบค้นเมื่อ 3 December 2021.
{{cite web}}
: CS1 maint: url-status (ลิงก์) - ↑ Sartre, Julien; Doherty, Ben (4 October 2020). "New Caledonia rejects independence from France for second time". The Guardian (ภาษาอังกฤษแบบบริติช). ISSN 0261-3077. สืบค้นเมื่อ 4 October 2020.
- ↑ "New Caledonia pro-independence parties reject referendum result". Al Jazeera. 13 December 2021. สืบค้นเมื่อ 14 December 2021.