ข้ามไปเนื้อหา

กล้องโทรทรรศน์อวกาศจันทรา

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
กล้องโทรทรรศน์อวกาศจันทรา
ภาพประกอบของจันทรา
รายชื่อเก่าAdvanced X-ray Astrophysics Facility (AXAF)
ประเภทภารกิจกล้องรังสีเอกซ์
ผู้ดำเนินการนาซ่า / หอดูดาวฟิสิกส์ดาราศาสตร์สถาบันสมิธโซเนียน / CXC
COSPAR ID1999-040B
SATCAT no.25867
เว็บไซต์chandra.harvard.edu
ระยะภารกิจวางแผน: 5 ปี
ผ่านไป: 25 ปี 5 เดือน
ข้อมูลยานอวกาศ
ผู้ผลิตทีอาร์ดับเบิลยู ออโตโมทีฟ
มวลขณะส่งยาน5,860 กิโลกรัม (12,930 ปอนด์)[1]
มวลแห้ง4,790 กิโลกรัม (10,560 ปอนด์)[1]
ขนาดปรับใช้: 13.8 × 19.5 เมตร (45.3 × 64.0 ฟุต)[2]
เก็บไว้: 11.8 × 4.3 เมตร (38.7 × 14.0 ฟุต)[1]
กำลังไฟฟ้า2,350 W[2]
เริ่มต้นภารกิจ
วันที่ส่งขึ้น23 กรกฎาคม 1999, 04:30:59.984 UTC[3]
จรวดนำส่งกระสวยอวกาศ โคลัมเบีย (STS-93)
ฐานส่งศูนย์อวกาศเคนเนดี LC-39B
ลักษณะวงโคจร
ระบบอ้างอิงวงโคจรค้างฟ้า
ระบบวงโคจรวงโคจรขั้วโลก
กึ่งแกนเอก80,795.9 กิโลเมตร (50,204.2 ไมล์)
ความเยื้อง0.743972
ระยะใกล้สุด14,307.9 กิโลเมตร (8,890.5 ไมล์)
ระยะไกลสุด134,527.6 กิโลเมตร (83,591.6 ไมล์)
ความเอียง76.7156°
คาบการโคจร3809.3 นาที
ลองจิจูดของจุดโหนดขึ้น305.3107°
มุมของจุดใกล้ที่สุด267.2574°
มุมกวาดเฉลี่ย0.3010°
การเคลื่อนไหวเฉลี่ย0.3780 รอบต่อวัน
วันที่ใช้อ้างอิง4 กันยายน 2015, 04:37:54 UTC[4]
รอบการโคจร1358
กล้องโทรทรรศน์หลัก
ชนิดวอลเตอร์ ไทป์ 1[5]
เส้นผ่านศูนย์กลาง1.2 เมตร (3.9 ฟุต)[2]
ระยะโฟกัส10.0 เมตร (32.8 ฟุต)[2]
พื่นที่รับแสง0.04 ตารางเมตร (0.43 ตารางฟุต)[2]
ความยาวคลื่นรังสีเอกซ์: 0.12–12 nm (0.1–10 keV)[6]
ความละเอียด0.5 arcsec[2]
 

กล้องโทรทรรศน์อวกาศจันทรา หรือ หอดูดาวรังสีเอกซ์จันทรา (อังกฤษ: Chandra X-ray Observatory) เป็นดาวเทียมของนาซา ที่มีอุปกรณ์ตรวจจับที่สามารถตรวจจับรังสีเอกซ์ได้ จึงเป็นประโยชน์อย่างมากสำหรับการศึกษารังสีเอกซ์ในห้วงอวกาศ ถูกส่งขึ้นสู่อวกาศโดยยาน STS-93 เมื่อวันที่ 23 กรกฎาคม ค.ศ. 1999 ตั้งชื่อตามสุพรหมัณยัน จันทรเศขร นักดาราศาสตร์ทฤษฎีชาวอินเดีย

อ้างอิง

[แก้]
  1. 1.0 1.1 1.2 "Chandra X-ray Observatory Quick Facts". Marshall Space Flight Center. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2022-02-12. สืบค้นเมื่อ September 16, 2017.
  2. 2.0 2.1 2.2 2.3 2.4 2.5 "Chandra Specifications". NASA/Harvard. สืบค้นเมื่อ September 3, 2015.
  3. "International Flight No. 210: STS-93". Spacefacts.de. สืบค้นเมื่อ April 29, 2018.
  4. "Chandra X-Ray Observatory - Orbit". Heavens Above. September 3, 2015. สืบค้นเมื่อ September 3, 2015.
  5. "The Chandra X-ray Observatory: Overview". Chandra X-ray Center. สืบค้นเมื่อ September 3, 2015.
  6. Ridpath, Ian (2012). The Dictionary of Astronomy (2nd ed.). Oxford University Press. p. 82. ISBN 978-0-19-960905-5.