ข้ามไปเนื้อหา

กลุ่มภาษาเกาะฟอร์โมซา

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
Formosan
กลุ่มภาษาเกาะฟอร์โมซา
(ทางภูมิศาสตร์)
กลุ่มเชื้อชาติ: ชนพื้นเมืองดั้งเดิมไต้หวัน (Formosan people)
ภูมิภาค:ไต้หวัน
การจําแนก
ทางภาษาศาสตร์
:
ออสโตรนีเซียน
  • Formosan
กลุ่มย่อย:
ISO 639-5:fox
กลอตโตลอก:None
{{{mapalt}}}
กลุ่มภาษาเกาะฟอร์โมซาก่อนการตั้งรกรากของชาวจีนโดย Blust (1999), ภาษาในกลุ่มมาลาโย-โพลีเนเซีย (สีแดง) อาจอยู่ในกลุ่มภาษาเกาะฟอร์โมซาตะวันออก (สีม่วง) สำหรับบริเวณสีขาวไม่มีการตรวจสอบ; แผนที่บางฉบับระบุเป็น Luiyang, Kulon หรือกลุ่มภาษา'เกอตางาลัน'[1]

กลุ่มภาษาเกาะฟอร์โมซา (อังกฤษ: Formosan language) เป็นภาษาของชาวพื้นเมืองในไต้หวันซึ่งมีจำนวน 2% ของประชากรบนเกาะไต้หวัน[2] แต่มีจำนวนน้อยกว่านั้นที่ยังพูดภาษาดั้งเดิมของตน จากภาษาพื้นเมืองทั้งหมด 26 ภาษา เป็นภาษาตายแล้ว 10 ภาษา ที่เหลืออีก 4–5 ภาษาเป็นภาษาที่ใกล้ตาย[3][4] ที่เหลือจัดเป็นภาษาที่เสี่ยงที่จะกลายเป็นภาษาตาย

ภาษาพื้นเมืองของไต้หวันมีความสำคัญมากในทางภาษาศาสตร์ เพราะไต้หวันคล้ายจะเป็นจุดกำเนิดของตระกูลภาษาออสโตรนีเซียนทั้งหมด จากการจัดของโรเบิร์ต บลัสต์ (ค.ศ. 1999) กลุ่มภาษาเกาะฟอร์โมซามี 9 สาขาจากทั้งหมด 10 สาขาของตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน[5] โดยอีกสาขาหนึ่งคือกลุ่มภาษามาลาโย-โพลีเนเซีย ราว 1,200 ภาษา ที่พบนอกเกาะไต้หวัน[6] แม้ว่านักภาษาศาสตร์ส่วนใหญ่ไม่ได้ยอมรับรายละเอียดของบลัสต์ทั้งหมด แต่ก็ยอมรับร่วมกันว่าตระกูลภาษาออสโตรนีเซียนมีจุดกำเนิดในไต้หวัน[7] และมีการศึกษาทางด้านพันธุศาสตร์มนุษย์เพิ่มเติมเกี่ยวกับสมมติฐานนี้[8]

ปัจจุบัน

[แก้]

กลุ่มภาษาเกาะฟอร์โมซาทั้งหมดกำลังถูกแทนที่ด้วยภาษาจีนกลางหลังจากที่รัฐบาลของสาธารณรัฐจีนเริ่มจัดการศึกษาให้ชาวพื้นเมืองในไต้หวัน[9][10]

ในปี พ.ศ. 2548 เพื่อช่วยอนุรักษ์ภาษาของชาวพื้นเมืองดั้งเดิมไต้หวัน รัฐสภาได้กำหนดระบบการเขียนสำหรับภาษาของชาวพื้นเมืองไต้หวันทั้งหมดโดยใช้อักษรโรมัน สภายังจัดให้มีชั้นเรียนและโปรแกรมการรับรองภาษาสำหรับสมาชิกของชุมชนพื้นเมืองและชาวไต้หวันที่ไม่ใช่ชาวพื้นเมืองเพื่อช่วยกระบวนการอนุรักษ์[11]

รายชื่อภาษา

[แก้]

การกำหนดขอบเขตของภาษาและสำเนียงโดยทั่วไปทำได้ยาก และมักมีข้อโต้แย้งเสมอ ซึ่งพบได้เช่นกันในการศึกษาภาษาในกลุ่มนี้ โดยเฉพาะภาษาของเผ่าที่คล้ายกัน โดยทั่วไปมีการจัดแบ่งดังนี้

อ้างอิง

[แก้]
  1. "Táiwān yuánzhùmín píngpǔ zúqún bǎinián fēnlèi shǐ xìliè dìtú" 臺灣原住民平埔族群百年分類史系列地圖 (A history of the classification of Plains Taiwanese tribes over the past century). blog.xuite.net (ภาษาจีน). 2009-08-06. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-02-11. สืบค้นเมื่อ 2017-03-04.
  2. Council of Indigenous Peoples, Executive Yuan "Statistics of Indigenous Population in Taiwan and Fukien Areas" เก็บถาวร 30 สิงหาคม 2006 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน.
  3. Zeitoun, Elizabeth & Ching-Hua Yu "The Formosan Language Archive: Linguistic Analysis and Language Processing" เก็บถาวร 2011-07-20 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน. Computational Linguistics and Chinese Language Processing. Volume 10, No. 2, June 2005, pp. 167–200
  4. Li, Paul Jen-kuei; Tsuchida, Shigeru (2006). 《噶瑪蘭語詞典》Kavalan Dictionary (PDF). Monograph Series No. A19 (ภาษาอังกฤษ และ จีน). Taipei: Institute of Linguistics, Academia Sinica. ISBN 978-9860069938. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2021-08-25. สืบค้นเมื่อ 2022-02-14.
  5. Blust, Robert (1999). "Subgrouping, Circularity and Extinction: Some Issues in Austronesian Comparative Linguistics". ใน Zeitoun, Elizabeth; Li, Jen-kuei (บ.ก.). Selected Papers from the Eighth International Conference on Austronesian Linguistics (ภาษาอังกฤษ). Taipei: Academia Sinica. ISBN 978-9576716324.
  6. Diamond, Jared M. "Taiwan's gift to the world" เก็บถาวร 17 มิถุนายน 2009 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน. Nature, Volume 403, February 2000, pp. 709-710
  7. Fox, James J."Current Developments in Comparative Austronesian Studies" เก็บถาวร 2006-10-12 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน. Paper prepared for Symposium Austronesia Pascasarjana Linguististik dan Kajian Budaya. Universitas Udayana, Bali 19-20 August 2004.
  8. Trejaut JA, Kivisild T, Loo JH, Lee CL, He CL, และคณะ (5 กรกฎาคม 2005). "Traces of archaic mitochondrial lineages persist in Austronesian-speaking Formosan populations". PLoS Biology. 3 (8): e247. doi:10.1371/journal.pbio.0030247.
  9. Lee, Hui-chi Lee (2004). A Survey of Language Ability, Language Use and Language Attitudes of Young Aborigines in Taiwan. In Hoffmann, Charlotte & Jehannes Ytsma (Eds.) Trilingualism in Family, School, and Community pp.101-117. Clevedon, Buffalo: Multilingual Matters. ISBN 1-85359-693-0.
  10. Huteson, Greg. (2003). Sociolinguistic survey report for the Tona and Maga dialects of the Rukai Language. SIL Electronic Survey Reports 2003-012, Dallas, TX: SIL International.
  11. Hsu, Jenny W. (2010-06-07). "Aboriginal Language Classes Open to Public". Focus Taiwan (ภาษาอังกฤษ). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-11-29 – โดยทาง galdu.org.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]