กลีเซอ 1214 บี
หน้าตา
ดาวเคราะห์นอกระบบ | รายชื่อ | |
---|---|---|
ดาวฤกษ์แม่ | ||
ดาวฤกษ์ | GJ 1214 | |
กลุ่มดาว | Ophiuchus[1] | |
ไรต์แอสเซนชัน | (α) | 17h 15m 18.942s[2] |
เดคลิเนชัน | (δ) | +04° 57′ 49.69″[2] |
ความส่องสว่างปรากฏ | (mV) | 14.71±0.03[3] |
ระยะห่าง | 42±3[4] ly (13.0±0.9[4] pc) | |
ชนิดสเปกตรัม | M4.5[5] | |
มวล | (m) | 0.157[6] M☉ |
รัศมี | (r) | 0.2064+0.0086 −0.0096[3] R☉ |
อุณหภูมิ | (T) | 3026±130[6] K |
อายุ | 6 พันล้านปี | |
องค์ประกอบวงโคจร | ||
กึ่งแกนเอก | (a) | 0.0143±0.0019 AU |
1.1 mas | ||
ความเยื้องศูนย์กลาง | (e) | < 0.27 |
คาบการโคจร | (P) | 1.58040456±0.00000016[7] d |
ความเร็ว | (υ) | 99 km/s |
ความเอียง | (i) | 88.62+0.36 −0.28° |
เวลาของการเคลื่อนผ่าน | (Tt) | 2454999.712703±0.000126 JD |
ลักษณะทางกายภาพ | ||
มวล | (m) | 6.55±0.98 (HARPS)[6] M⊕ |
รัศมี | (r) | 2.678±0.13 R⊕ |
ความหนาแน่น | (ρ) | 1870±400 kg/m3 |
ฟลักซ์การแผ่รังสีของดาว | (F⊙) | 16 ⊕ |
แรงโน้มถ่วงพื้นผิว | (g) | 0.91 g |
อุณหภูมิ | (T) | 393–555 เคลวิน (120–282 องศาเซลเซียส; 248–539 องศาฟาเรนไฮต์) (equilibrium)[6] K |
ข้อมูลการค้นพบ | ||
ค้นพบเมื่อ | December 16, 2009 | |
ค้นพบโดย | David Charbonneau, et al.[6] | |
วิธีตรวจจับ | Transit (MEarth Project) | |
วิธีตรวจจับอื่น ๆ | Radial velocity | |
สถานที่ที่ค้นพบ | Fred Lawrence Whipple Observatory | |
สถานะการค้นพบ | Published[6] | |
อ้างอิงกับฐานข้อมูลอื่น | ||
สารานุกรม ดาวเคราะห์นอกระบบ | ข้อมูล | |
ซิมแบด | ข้อมูล |
กลีเซอ 1214 บี (Gliese 1214 b) เป็นดาวเคราะห์นอกระบบที่โคจรรอบดาวฤกษ์กลีเซอ 1214 และถูกค้นพบในเดือนธันวาคม 2009 ดาวฤกษ์ของดาวดวงนี้ห่างจากดวงอาทิตย์ 42 ปีแสง ในกลุ่มดาวคนแบกงู ใน 2017 GJ 1214 B เป็นที่รู้จักมากเนื่องจากเป็นดาวเคราะห์มหาสมุทร[8][9] ด้วยเหตุนี้นักวิทยาศาสตร์จึงตั้งชื่อเล่นว่า "the waterworld"[10]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ Roman, Nancy G. (1987). "Identification of a Constellation From a Position". Publications of the Astronomical Society of the Pacific. 99 (617): 695–699. Bibcode:1987PASP...99..695R. doi:10.1086/132034. Vizier query form
- ↑ 2.0 2.1 Skrutskie, M. F.; และคณะ (2006). "The Two Micron All Sky Survey (2MASS)". The Astronomical Journal. 131 (2): 1163–1183. Bibcode:2006AJ....131.1163S. doi:10.1086/498708. Vizier catalog entry
- ↑ 3.0 3.1 Berta, Zachory K.; และคณะ (2011). "The GJ1214 Super-Earth System: Stellar Variability, New Transits, and a Search for Additional Planets". The Astrophysical Journal. 736 (1). 12. arXiv:1012.0518. Bibcode:2011ApJ...736...12B. doi:10.1088/0004-637X/736/1/12.
- ↑ 4.0 4.1 van Altena, William F.; และคณะ. The General Catalogue of Trigonometric Stellar Parallaxes. Yale University Observatory. ASIN B000UG5T6Y.Vizier catalog entry
- ↑ Rojas-Ayala, Bárbara; และคณะ (2010). "Metal-rich M-Dwarf Planet Hosts: Metallicities with K-band Spectra". The Astrophysical Journal Letters. 720 (1): L113–L118. arXiv:1007.4593. Bibcode:2010ApJ...720L.113R. doi:10.1088/2041-8205/720/1/L113.
- ↑ 6.0 6.1 6.2 6.3 6.4 6.5 Charbonneau, David; และคณะ (2009). "A super-Earth transiting a nearby low-mass star". Nature. 462 (7275): 891–894. arXiv:0912.3229. Bibcode:2009Natur.462..891C. doi:10.1038/nature08679. PMID 20016595.
- ↑ Kennet B. W. Harpsøe; และคณะ (2012). "The Transiting System GJ1214". Astronomy & Astrophysics. 549: A10. arXiv:1207.3064. Bibcode:2013A&A...549A..10H. doi:10.1051/0004-6361/201219996.
- ↑ David Charbonneau; Zachory K. Berta; Jonathan Irwin; Christopher J. Burke; และคณะ (2009). "A super-Earth transiting a nearby low-mass star". Nature. 462 (17 December 2009): 891–894. arXiv:0912.3229. Bibcode:2009Natur.462..891C. doi:10.1038/nature08679. PMID 20016595. สืบค้นเมื่อ 2009-12-15.
- ↑ Kuchner, Seager; Hier-Majumder, M.; Militzer, C. A. (2007). "Mass–radius relationships for solid exoplanets". The Astrophysical Journal. 669 (2): 1279–1297. arXiv:0707.2895. Bibcode:2007ApJ...669.1279S. doi:10.1086/521346. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-12-13. สืบค้นเมื่อ 2018-11-23.
- ↑ "10 Real Planets That Are Stranger Than Science Fiction". สืบค้นเมื่อ 2015-06-13.