ข้ามไปเนื้อหา

วอร์ซอ

พิกัด: 52°13′48″N 21°00′40″E / 52.23000°N 21.01111°E / 52.23000; 21.01111
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก กรุงวอร์ซอ)
วอร์ซอ
Warsaw Skyline
Łazienki Park
Castle Square
Nicolaus Copernicus Monument
Main Market Square
Royal Route
Senatorska Street
Wilanów Palace
ธงของวอร์ซอ
ธง

ตราอาร์ม
สมญา: 
ปารีสเหนือ, ฟีนิกซ์ซิตี[1]
คำขวัญ: 
Semper invicta  (ละติน "Ever invincible")
วอร์ซอตั้งอยู่ในประเทศโปแลนด์
วอร์ซอ
วอร์ซอ
ที่ตั้งในประเทศโปแลนด์
วอร์ซอตั้งอยู่ในยุโรป
วอร์ซอ
วอร์ซอ
ที่ตั้งในทวีปยุโรป
พิกัด: 52°13′48″N 21°00′40″E / 52.23000°N 21.01111°E / 52.23000; 21.01111
ประเทศโปแลนด์
จังหวัดมาซอฟแช
เทศมณฑลเทศมณฑลนคร
ก่อตั้งคริสต์ศตวรรษที่ 13
สิทธินครค.ศ. 1323
เขต18 เขต
การปกครอง
 • ประเภทนายกเทศมนตรีบริหาร และสมัชชา
 • องค์กรสภานครวอร์ซอ
 • นายกเทศมนตรีราเฟา ตชัสกอฟสกี (PO)
 • แซย์มโปแลนด์สมาชิก 20 คน
 • สภายุโรปเขตเลือกตั้งวอร์ซอ
พื้นที่
 • เมืองหลวงและเทศมณฑล517.24 ตร.กม. (199.71 ตร.ไมล์)
 • รวมปริมณฑล6,100.43 ตร.กม. (2,355.39 ตร.ไมล์)
ความสูง78–116 เมตร (328 ฟุต)
ประชากร
 (31 ธันวาคม ค.ศ. 2020)
 • เมืองหลวงและเทศมณฑล1,794,166 (อันดับที่ 1) เพิ่มขึ้น[2] คน
 • อันดับอันดับ 1 ของโปแลนด์ (อันดับ 8 ในสหภาพยุโรป)
 • ความหนาแน่น3,460 คน/ตร.กม. (9,000 คน/ตร.ไมล์)
 • รวมปริมณฑล3,100,844[3] คน
 • ความหนาแน่นรวมปริมณฑล509.1 คน/ตร.กม. (1,319 คน/ตร.ไมล์)
เขตเวลาUTC+1 (เวลายุโรปกลาง)
 • ฤดูร้อน (เวลาออมแสง)UTC+2 (เวลาออมแสงยุโรปกลาง)
รหัสไปรษณีย์00-001 ถึง 04–999
รหัสพื้นที่+48 22
ท่าอากาศยานนานาชาติชอแป็ง (WAW)
มอดลิน (WMI)
ระบบขนส่งมวลชนเร็วรถไฟใต้ดิน
เว็บไซต์um.warszawa.pl
ศูนย์กลางประวัติศาสตร์วอร์ซอ *
  แหล่งมรดกโลกโดยยูเนสโก
ประเทศ โปแลนด์
ภูมิภาค **ยุโรป
ประเภทมรดกทางวัฒนธรรม
เกณฑ์พิจารณา(ii), (vi)
อ้างอิง30
ประวัติการขึ้นทะเบียน
ขึ้นทะเบียน1980 (คณะกรรมการสมัยที่ 4)
* ชื่อตามที่ได้ขึ้นทะเบียนในบัญชีแหล่งมรดกโลก
** ภูมิภาคที่จัดแบ่งโดยยูเนสโก

วอร์ซอ[4] (อังกฤษ: Warsaw; โปแลนด์: Warszawa, ออกเสียง: [varˈʂava] ; ละติน: Varsovia) หรือ วาร์สซาวา[4] มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า นครหลวงวอร์ซอ[5][a] เป็นเมืองหลวงและเมืองใหญ่ที่สุดของประเทศโปแลนด์ ตั้งอยู่ริมแม่น้ำวิสวาในภาคกลาง-ตะวันออกของโปแลนด์ มีประชากรอาศัยอยู่ในตัวเมืองอย่างเป็นทางการประมาณ 1.8 ล้านคน และภายในเขตมหานครมีประชากรประมาณ 3.1 ล้านคน[6] ซึ่งทำให้เป็นเมืองที่มีประชากรมากเป็นอันดับ 7 ของสหภาพยุโรป ตัวเมืองวอร์ซอมีพื้นที่ 517 ตารางกิโลเมตร (200 ตารางไมล์) และประกอบไปด้วย 18 โบโรฮ์ ในขณะที่เขตมหานครนั้นครอบคลุมพื้นที่ 6,100 ตารางกิโลเมตร (2,355 ตารางไมล์)[7] วอร์ซอเป็นเมืองสำคัญของโลกในระดับอัลฟา-[8] เป็นศูนย์กลางด้านวัฒนธรรม การเมือง และเศรษฐกิจที่สำคัญ และยังเป็นที่ตั้งของรัฐบาลของโปแลนด์ เมืองเก่าทางประวัติศาสตร์นั้นได้การขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกโดยยูเนสโก

วอร์ซอเป็นเมืองศูนย์กลางอุตสาหกรรมหนัก เช่น เหล็กกล้า, รถยนต์, เครื่องจักรอุตสาหกรรม นอกจากนี้ยังเป็นศูนย์กลางด้านการศึกษา มีสถาบันการศึกษามากกว่า 66 แห่ง

วอร์ซอเป็นที่รู้จักของนานาชาติจากสนธิสัญญาวอร์ซอ ซึ่งตั้งชื่อตามกรุงวอร์ซอ

วอร์ซอมีรถไฟใต้ดินวอร์ซออยู่ 2 สาย: สาย 1 และ สาย 2

หมายเหตุ

[แก้]
  1. โปแลนด์: Miasto stołeczne Warszawa ย่อเป็น m.st. Warszawa

อ้างอิง

[แก้]
  1. "The city of phoenix – War*saw everything" (ภาษาโปแลนด์). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 27 January 2009. สืบค้นเมื่อ 22 January 2009.
  2. "Local Data Bank". Statistics Poland. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 22 April 2019. สืบค้นเมื่อ 16 October 2021. Data for territorial unit 1465000.
  3. "Archived copy". เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 3 September 2015. สืบค้นเมื่อ 6 February 2017.{{cite web}}: CS1 maint: archived copy as title (ลิงก์)
  4. 4.0 4.1 "ประกาศสำนักงานราชบัณฑิตยสภา เรื่อง กำหนดชื่อประเทศ ดินแดน เขตการปกครอง และเมืองหลวง" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 139 (พิเศษ 205 ง). 1 กันยายน 2565.
  5. "Journal of Laws of Poland, position 1817, 2018". เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 30 August 2021. สืบค้นเมื่อ 30 August 2021.
  6. "Population on 1 January by age groups and sex – functional urban areas". Eurostat. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 3 September 2015. สืบค้นเมื่อ 6 February 2017.
  7. "Warsaw". goeuro2012.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 3 June 2008. สืบค้นเมื่อ 15 July 2008.
  8. "The World According to GaWC 2020". GaWC – Research Network. Globalization and World Cities. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 24 August 2020. สืบค้นเมื่อ 31 August 2020.

บรรณานุกรม

[แก้]

อ่านเพิ่ม

[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]