ข้ามไปเนื้อหา

ตูนิส

พิกัด: 36°48′23″N 10°10′54″E / 36.80639°N 10.18167°E / 36.80639; 10.18167
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก Tunis)
ตูนิส

تونس
จากบน, ซ้ายไปขวา: Avenue Habib Bourguiba , Avenue 14-Janvier 2011, the statue of Ibn Khaldoun, View of Tunis from Sidi Belhassen moutain , View of Sidi Bou Said, View of Tunis in Night.
ตูนิสตั้งอยู่ในตูนิเซีย
ตูนิส
ตูนิส
ที่ตั้งตูนิเซียและแอฟริกา
ตูนิสตั้งอยู่ในMediterranean
ตูนิส
ตูนิส
ตูนิส (Mediterranean)
ตูนิสตั้งอยู่ในแอฟริกา
ตูนิส
ตูนิส
ตูนิส (แอฟริกา)
พิกัด: 36°48′23″N 10°10′54″E / 36.80639°N 10.18167°E / 36.80639; 10.18167
ประเทศ ตูนิเซีย
GovernorateTunis
การปกครอง
 • MayorSouad Abderrahim
พื้นที่
 • เมืองหลวง212.63 ตร.กม. (82.10 ตร.ไมล์)
 • รวมปริมณฑล2,668 ตร.กม. (1,030 ตร.ไมล์)
ความสูงจุดสูงสุด41 เมตร (135 ฟุต)
ความสูงจุดต่ำสุด4 เมตร (13 ฟุต)
ประชากร
 (April 23, 2014)[1]
 • เมืองหลวง638,845 คน
 • ความหนาแน่น3,004 คน/ตร.กม. (7,780 คน/ตร.ไมล์)
 • รวมปริมณฑล2,869,529 คน
เดมะนิมอาหรับ: تونسي Tounsi
ฝรั่งเศส: Tunisois
เขตเวลาUTC+01:00 (CET)
Postal code1xxx, 2xxx
Calling code71
รหัส ISO 3166TN-11, TN-12, TN-13 and TN-14
geoTLD.tn
เว็บไซต์เว็บไซต์ทางการ

ตูนิส (อาหรับ: تونس, Tūnis; อังกฤษ: Tunis) เป็นเมืองหลวงของประเทศตูนิเซียและเขตผู้ว่าราชการตูนิส ที่มีประชากร 1,200,000 คนในปี ค.ศ. 2008 และ 3,980,500 คนเมื่อรวมปริมณฑล ตูนิสเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดในตูนิเซีย

ตูนิสตั้งอยู่ในอ่าวตูนิสบนฝั่งทะเลเมดิเตอร์เรเนียน และเมืองท่าลากูแล็ต (La Goulette) ตัวเมืองตั้งอยู่ที่ราบและเนินตามชายฝั่งทะเลรอบอ่าว ที่ศูนย์กลางของบริเวณใหม่ (ก่อนและหลังสมัยอาณานิคม) เป็นบริเวณเมดินา ถัดออกไปในบริเวณรอบตัวเมืองเป็นบริเวณปริมณฑลคาร์เทจ, ลามาร์ซา และซิดิบูซาอิด

บริเวณเมดินาเป็นบริเวณเมืองเก่าที่มีถนนแคบและทางเดินที่มีหลังคา เต็มไปด้วยกลิ่นและสี ร้านค้า และสินค้าต่าง ๆ ที่รวมทั้งผลิตภัณฑ์หนัง ไปจนถึงพลาสติก โลหะ และสินค้าหัตกรรมสำหรับนักท่องเที่ยว

อ้างอิง

[แก้]
  1. "Tunisia: Governorates, Major Cities, Communes & Urban Agglomerations". Population Statistics, Maps, Charts, Weather and Web Information. 30 Mar 1984.
  • Jellal Abdelkafi, La médina de Tunis, éd. Presses du CNRS, Paris, 1989
  • Alia Baccar-Bournaz [sous la dir. de], Tunis, cité de la mer (acte d’un colloque de 1997), éd. L’Or du temps, Tunis, 1999
  • Philippe Di Folco, Le goût de Tunis, éd. Mercure de France, Paris, 2007
  • Abdelwahab Meddeb, Talismano, éd. Christian Bourgois, Paris, 1979
  • Mohamed Sadek Messikh, Tunis. La mémoire, éd. Du Layeur, Paris, 2000
  • Paul Sebag, Tunis. Histoire d’une ville, éd. L’Harmattan, Paris, 2000
  • Paul Sebag, Tunis. Une cité barbaresque au temps de la course, éd. L’Harmattan, Paris,

ดูเพิ่ม

[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]

วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ ตูนิส