ไททานิก 2
หน้าตา
(เปลี่ยนทางจาก Titanic II)
ภาพเรนเดอร์สามมิติของ ไททานิก 2
| |
ประวัติ | |
---|---|
ชื่อ | ไททานิก 2 |
เจ้าของ | Blue Star Line Pty. Ltd., บริสเบน, ประเทศออสเตรเลีย |
อู่เรือ | CSC Jinling, หนานจิง[1] |
มูลค่าสร้าง | 500 ล้านดอลลาร์สหรัฐ (ประมาณ)[1] |
ลักษณะเฉพาะ | |
ชั้น: | ตีความแบบปัจจุบันเป็นเรือเดินสมุทรชั้น โอลิมปิก |
ขนาด (ตัน): | แม่แบบ:GT (ประมาณ) |
ความยาว: | 269.15 เมตร (883.0 ฟุต) |
ความกว้าง: | 32.2 เมตร (105 ฟุต 8 นิ้ว) |
ความสูง: | 53.35 เมตร (175.0 ฟุต) |
กินน้ำลึก: |
|
ความลึก: | 19.74 เมตร (64.8 ฟุต) |
ดาดฟ้า: | 10 |
ระบบพลังงาน: |
|
ระบบขับเคลื่อน: | ดีเซล-ไฟฟ้า; azimuth thruster สามอัน; (3 × 10 MW)[2] |
ความเร็ว: | 24 นอต (44 กิโลเมตรต่อชั่วโมง; 28 ไมล์ต่อชั่วโมง) (สูงสุด)[ต้องการอ้างอิง] |
ความจุ: | 1,680 (ความจุสองเท่า); 2,435 (สูงสุด) |
ลูกเรือ: | 900 |
ไททานิก 2 (อังกฤษ: Titanic II) เป็นแบบแผนเรือเดินสมุทรที่จะทำหน้าที่เป็นแบบจำลองของอาร์เอ็มเอส ไททานิกในปัจจุบัน เรือใหม่มีแผนว่าจะรองรับตันกรอส (GT) ที่ 56,000 ในขณะที่เรือดั้งเดิมมีระวางน้ำหนักของเรือ (GRT) ประมาณ 46,000[note 1] ไคลฟ์ พาลเมอร์ (Clive Palmer) มหาเศรษฐีชาวออสเตรเลีย เป็นผู้ประกาศโปรเจกต์นี้ในเดือนเมษายน ค.ศ. 2012 ในฐานะเรือธงที่ได้รับการนำเสนอของบริษัทเรือสำราญ Blue Star Line Pty. Ltd. แห่งบริสเบน ประเทศออสเตรเลีย[3] เดิมตั้งใจเปิดใช้งานใน ค.ศ. 2016[4] แต่ล่าช้าถึง ค.ศ. 2018[5] แล้วล่าไปอีกถึง ค.ศ. 2022[6] โดยมีการดำเนินการพัฒนาโปรเจกต์ต่อในเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 2018 หลังประสบกับรอยร้าวที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 2015 โดยมีที่มาจากข้อพิพาททางการเงิน[7][8] ซึ่งส่งผลต่อเงินลงทุนโปรเจกต์ไป 500 ล้านดอลลาร์สหรัฐ[9]
หมายเหตุ
[แก้]- ↑ ไททานิก แบบดั้งเดิมมีระวางน้ำหนักของเรือที่ 46,328 GRT ซึ่งไม่สามารถเทียบกับ directly comparable with modern ตันกรอสสมัยใหม่แบบตรง ๆ ได้ อย่างไรก็ตาม เนื่องจากหนึ่ง register ton มีค่าเท่ากับ 100 ลูกบาศก์ฟุต (2.83 ลูกบาศก์เมตร) น้ำหนักตามสูตรนี้จะอยู่ที่ประมาณ 39,640 GT ตามสูตรใน The International Convention on Tonnage Measurement of Ships, 1969 เก็บถาวร 2012-07-10 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน.
อ้างอิง
[แก้]- ↑ 1.0 1.1 Cruise Ship Orderbook เก็บถาวร 2016-07-12 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน. Cruise Industry News. Retrieved 2013-04-23.
- ↑ "Updated Titanic II model tests". Deltamarin Blog. 2013-09-20. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-11-11. สืบค้นเมื่อ 2013-11-11.
- ↑ Calligeros, Marissa (30 April 2012). "Clive Palmer plans to build Titanic II". Sydney Morning Herald. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 24 July 2012. สืบค้นเมื่อ 31 July 2012.
- ↑ Fickling, David (30 April 2012). "Titanic II to Be Built by Billionaire Palmer, Chinese Yard". Bloomberg. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 27 January 2015. สืบค้นเมื่อ 12 March 2017.
- ↑ "Titanic II set to sail in 2018, says Aussie billionaire - BelfastTelegraph.co.uk". BelfastTelegraph.co.uk (ภาษาอังกฤษ). เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-03-13. สืบค้นเมื่อ 2017-03-25.
- ↑ "Titanic II replica ship's cruise from Dubai delayed until 2022". Logistics Middle East. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 18 October 2018. สืบค้นเมื่อ 17 October 2018.
- ↑ "Deltamarin continues work on Titanic II". The Guardian. 24 October 2018. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 15 December 2018. สืบค้นเมื่อ 15 December 2018.
- ↑ "Deltamarin continues to work on Titanic II". Blue Star Line. 9 November 2018. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 15 December 2018. สืบค้นเมื่อ 15 December 2018.
- ↑ Shabina (13 February 2019). "Titanic II Ship Ticket Prices 2022, Release Date, Construction Cost, Facts and Latest Updates". Traveljee. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 1 April 2019. สืบค้นเมื่อ 17 February 2019.