ข้ามไปเนื้อหา

ไททานิก 2

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ภาพเรนเดอร์สามมิติของ ไททานิก 2
ประวัติ
ชื่อไททานิก 2
เจ้าของBlue Star Line Pty. Ltd., บริสเบน, ประเทศออสเตรเลีย
อู่เรือCSC Jinling, หนานจิง[1]
มูลค่าสร้าง500 ล้านดอลลาร์สหรัฐ (ประมาณ)[1]
ลักษณะเฉพาะ
ชั้น: ตีความแบบปัจจุบันเป็นเรือเดินสมุทรชั้น โอลิมปิก
ขนาด (ตัน): แม่แบบ:GT (ประมาณ)
ความยาว: 269.15 เมตร (883.0 ฟุต)
ความกว้าง: 32.2 เมตร (105 ฟุต 8 นิ้ว)
ความสูง: 53.35 เมตร (175.0 ฟุต)
กินน้ำลึก:
  • 7.5 เมตร (24 ฟุต 7 นิ้ว) (ปกติ)
  • 7.926 เมตร (26 ฟุต 0 นิ้ว) (สูงสุด)
ความลึก: 19.74 เมตร (64.8 ฟุต)
ดาดฟ้า: 10
ระบบพลังงาน:
  • 2 × Wärtsilä 12V46F
  • 2 × Wärtsilä 8L46F
  • 48,000 กิโลวัตต์ (64,000 แรงม้า) (ผสม)
ระบบขับเคลื่อน: ดีเซล-ไฟฟ้า; azimuth thruster สามอัน; (3 × 10 MW)[2]
ความเร็ว: 24 นอต (44 กิโลเมตรต่อชั่วโมง; 28 ไมล์ต่อชั่วโมง) (สูงสุด)[ต้องการอ้างอิง]
ความจุ: 1,680 (ความจุสองเท่า); 2,435 (สูงสุด)
ลูกเรือ: 900

ไททานิก 2 (อังกฤษ: Titanic II) เป็นแบบแผนเรือเดินสมุทรที่จะทำหน้าที่เป็นแบบจำลองของอาร์เอ็มเอส ไททานิกในปัจจุบัน เรือใหม่มีแผนว่าจะรองรับตันกรอส (GT) ที่ 56,000 ในขณะที่เรือดั้งเดิมมีระวางน้ำหนักของเรือ (GRT) ประมาณ 46,000[note 1] ไคลฟ์ พาลเมอร์ (Clive Palmer) มหาเศรษฐีชาวออสเตรเลีย เป็นผู้ประกาศโปรเจกต์นี้ในเดือนเมษายน ค.ศ. 2012 ในฐานะเรือธงที่ได้รับการนำเสนอของบริษัทเรือสำราญ Blue Star Line Pty. Ltd. แห่งบริสเบน ประเทศออสเตรเลีย[3] เดิมตั้งใจเปิดใช้งานใน ค.ศ. 2016[4] แต่ล่าช้าถึง ค.ศ. 2018[5] แล้วล่าไปอีกถึง ค.ศ. 2022[6] โดยมีการดำเนินการพัฒนาโปรเจกต์ต่อในเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 2018 หลังประสบกับรอยร้าวที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 2015 โดยมีที่มาจากข้อพิพาททางการเงิน[7][8] ซึ่งส่งผลต่อเงินลงทุนโปรเจกต์ไป 500 ล้านดอลลาร์สหรัฐ[9]

หมายเหตุ

[แก้]
  1. ไททานิก แบบดั้งเดิมมีระวางน้ำหนักของเรือที่ 46,328 GRT ซึ่งไม่สามารถเทียบกับ directly comparable with modern ตันกรอสสมัยใหม่แบบตรง ๆ ได้ อย่างไรก็ตาม เนื่องจากหนึ่ง register ton มีค่าเท่ากับ 100 ลูกบาศก์ฟุต (2.83 ลูกบาศก์เมตร) น้ำหนักตามสูตรนี้จะอยู่ที่ประมาณ 39,640 GT ตามสูตรใน The International Convention on Tonnage Measurement of Ships, 1969 เก็บถาวร 2012-07-10 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน.

อ้างอิง

[แก้]
  1. 1.0 1.1 Cruise Ship Orderbook เก็บถาวร 2016-07-12 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน. Cruise Industry News. Retrieved 2013-04-23.
  2. "Updated Titanic II model tests". Deltamarin Blog. 2013-09-20. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-11-11. สืบค้นเมื่อ 2013-11-11.
  3. Calligeros, Marissa (30 April 2012). "Clive Palmer plans to build Titanic II". Sydney Morning Herald. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 24 July 2012. สืบค้นเมื่อ 31 July 2012.
  4. Fickling, David (30 April 2012). "Titanic II to Be Built by Billionaire Palmer, Chinese Yard". Bloomberg. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 27 January 2015. สืบค้นเมื่อ 12 March 2017.
  5. "Titanic II set to sail in 2018, says Aussie billionaire - BelfastTelegraph.co.uk". BelfastTelegraph.co.uk (ภาษาอังกฤษ). เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-03-13. สืบค้นเมื่อ 2017-03-25.
  6. "Titanic II replica ship's cruise from Dubai delayed until 2022". Logistics Middle East. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 18 October 2018. สืบค้นเมื่อ 17 October 2018.
  7. "Deltamarin continues work on Titanic II". The Guardian. 24 October 2018. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 15 December 2018. สืบค้นเมื่อ 15 December 2018.
  8. "Deltamarin continues to work on Titanic II". Blue Star Line. 9 November 2018. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 15 December 2018. สืบค้นเมื่อ 15 December 2018.
  9. Shabina (13 February 2019). "Titanic II Ship Ticket Prices 2022, Release Date, Construction Cost, Facts and Latest Updates". Traveljee. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 1 April 2019. สืบค้นเมื่อ 17 February 2019.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]