กระดูกหักแบบโรลันโด
หน้าตา
(เปลี่ยนทางจาก Rolando fracture)
กระดูกหักแบบโรลันโด | |
---|---|
ส่วนฐานของกระดูกนิ้วโป้งเกิดการหัก | |
สาขาวิชา | ศัลยศาสตร์มือ |
กระดูกหักแบบโรลันโด (อังกฤษ: Rolando fracture) เป็นประเภทหนึ่งของกระดูกนิ้วหักที่ส่วนฐานของกระดูกนิ้วโป้งเกิดการหัก[1] จัดเป็นกระดูกหักชนิกในข้อ[2] การหักมักเป็นรูปตัวที หรือตัววาย (T- or Y-shaped)[3]
มีการบรรยายกระดูกหักรูปแบบนี้ครั้งแรกในปี 1910 โดย ซิลวิโอ โรลันโด (Silvio Rolando) ชาวอิตาลี[4] ซึ่งเป็นที่มาของชื่อกระดูกหักรูปแบบนี้
การรักษามีการเสนอไว้อยู่หลายวิธี รวมถึงการยึดด้วยสายเคิร์ชเนอร์ (Kirschner wires) หรือการก่อโดยช้เพลตกับสกรู (plate and screw constructions) อีกหนึ่งสิธีรักษาที่ได้รับการยอมรับคือการทำการยึดภายนอก (external fixator) ประกอบการใช้เทคนิกเทนชั่นแบนด์วายริง (tension band wiring technique)[5]
ดูเพิ่ม
[แก้]อ้างอิง
[แก้]- ↑ White, Timothy O.; Mackenzie, Samuel P.; Gray, Alasdair J. (2016). "13. Hand". McRae's Orthopaedic Trauma and Emergency Fracture Management (ภาษาอังกฤษ) (3rd ed.). Elsevier. pp. 275–277. ISBN 978-0-7020-5728-1.
- ↑ "Wheeless' Textbook of Orthopaedics".
- ↑ Feletti, Francesco; Varacallo, Matthew (2022). "Rolando Fractures". StatPearls. StatPearls Publishing. PMID 31194364.
- ↑ Rolando S. Fracture de la base du premier metacarpien et principalement sur une variete` non encore e`crite. Presse Med 1910;33:303–4 [in French].
- ↑ Howard, FM (Jul 1987). "Fractures of the basal joint of the thumb". Clinical Orthopaedics and Related Research. 220 (220): 46–51. doi:10.1097/00003086-198707000-00007. PMID 3595009.
บรรณานุกรม
[แก้]- Canale, S. Terry; Beaty, James H., บ.ก. (2008). "64". Campbell's operative orthopaedics. Vol. 4 (11th ed.). Philadelphia, PA: Mosby/Elsevier. pp. 3927–3931. ISBN 978-0-323-03329-9.
- Edmunds, JO (Aug 2006). "Traumatic dislocations and instability of the trapeziometacarpal joint of the thumb" (PDF). Hand Clinics. 22 (3): 365–92. doi:10.1016/j.hcl.2006.05.001. PMID 16843802. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2011-07-17.
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]การจำแนกโรค | |
---|---|
ทรัพยากรภายนอก |