ข้ามไปเนื้อหา

สัตว์ตีนครีบ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก Pinnipedia)

สัตว์ตีนครีบ
ช่วงเวลาที่มีชีวิตอยู่: ช่วงอายุโอลิโกซีนตอนปลายสมัยโฮโลซีน, 24–0Ma
ตามเข็มนาฬิกาจากซ้ายบน: New Zealand fur seal (Arctocephalus forsteri), แมวน้ำช้างซีกโลกใต้ (Mirounga leonina), Steller sea lion (Eumetopias jubatus), วอลรัส (Odobenus rosmarus) และ แมวน้ำสีเทา (Halichoerus grypus)
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์ แก้ไขการจำแนกนี้
โดเมน: ยูแคริโอตา
Eukaryota
อาณาจักร: สัตว์
ไฟลัม: สัตว์มีแกนสันหลัง
ชั้น: สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม
อันดับ: สัตว์กินเนื้อ
เคลด: Pinnipedimorpha
เคลด: Pinnipediformes
เคลด: สัตว์ตีนครีบ

Illiger, 1811[1]
Subclades
Range map

สัตว์ตีนครีบ (Pinnipedia) เป็นเคลดที่มีสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมทางทะเลที่มีเท้าครีบ มีวงศ์อื่น ๆ รองลงมาได้แก่ วงศ์วอลรัส วงศ์แมวน้ำมีหู และ วงศ์แมวน้ำ สัตว์ตีนครีบมี 33 สปีชีส์ และมีมากกว่า 50 สปีชีส์ที่สูญพันธุ์ไปแล้ว โดยมีการค้นพบจากหลักฐานของซากดึกดำบรรพ์ สัตว์ตีนครีบจัดอยู่ในอันดับสัตว์กินเนื้อ และสัตว์ในวงศ์อื่นที่มีเชื้อสายใกล้เคียงมากที่สุดคือสัตว์ในวงศ์หมีและวงศ์เพียงพอน (เพียงพอน แรคคูน และสกังก์)

กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยา

[แก้]

การควบคุมอุณหภูมิ

[แก้]
แมวน้ำช้างถิ่นเหนือนอนพักผ่อนในน้ำ

การหลับนอน

[แก้]

สัตว์ตีนครีบสามารถใช้ชีวิตในใต้น้ำทะเลได้เป็นเวลาหลายเดือน จึงสามารถนอนหลับในน้ำได้ นักวิทยาศาสตร์พบว่าสัตว์ตีนครีบมักนอนหลับครั้งละภายในไม่กี่นาทีในระหว่างที่นอนหงายท้อง เมื่อสัตว์ตีนครีบนอนหลับในน้ำทะเล ครึ่งหนึ่งของสมองจะหลับแต่อีกครึ่งของสมองจะตื่น สิ่งนี้เป็นสิ่งที่เหมือนสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมทางทะเลชนิดอื่น ๆ ซึ่งเป็นสิ่งที่ทำให้สัตว์ตีนครีบสามารถหลบหลีกสัตว์ร้ายได้ทัน [2] ยามเมื่อสัตว์ตีนครีบนอนบนบก สมองทั้งสองข้างมักหลับสนิท[3]

อ้างอิง

[แก้]
  1. Illiger, J. K. W. (1811). Prodromus Systematis Mammalium et Avium (ภาษาละติน). Sumptibus C. Salfeld. pp. 138–39.
  2. Mitani, Y.; Andrews, R. D.; Sato, K.; Kato, A.; Naito, Y.; Costa, D. P. (2009). "Three-dimensional resting behaviour of northern elephant seals: drifting like a falling leaf". Biology Letters. 6 (2): 163–66. doi:10.1098/rsbl.2009.0719. PMC 2865059. PMID 19864274.{{cite journal}}: CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์)
  3. Lapierre, J. L.; Kosenko, P. O.; Kodama, T.; Peever, J. H.; Mukhametov, L. M.; Lyamin, O. I.; Siegel, J. M. (2013). "Symmetrical serotonin release during asymmetrical slow-wave sleep: Implications for the neurochemistry of sleep–waking states". The Journal of Neuroscience. 33 (6): 2555–61. doi:10.1523/JNEUROSCI.2603-12.2013. PMC 3711592. PMID 23392683.{{cite journal}}: CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์)

บรรณานุกรม

[แก้]