ข้ามไปเนื้อหา

ขบวนการไม่ให้ความร่วมมือ (พ.ศ. 2567)

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก Non-cooperation movement (2024))
ขบวนการไม่ให้ความร่วมมือ
ส่วนหนึ่งของ การประท้วงในประเทศบังกลาเทศ พ.ศ. 2565-2567
ผู้คนเฉลิมฉลองที่อาคารสำนักนายกรัฐมนตรีในธากาหลังเศข หาสินา ประกาศลาออกจากตำแหน่ง
วันที่4–5 สิงหาคม 2024 (1 วัน)[1]
สถานที่ประเทศบังกลาเทศ
สาเหตุ
เป้าหมายเศข หาสินา และ คณะรัฐมนตรี ลาออกจากตำแหน่ง
วิธีการ
ผลผู้ประท้วงชนะ
คู่ขัดแย้ง
ขบวนการนักศึกษาต่อต้านการเบือกปฏิบัติ

สนับสนุนโดย:
ผู้นำ
ความสูญเสีย
เสียชีวิต: > 250 (ประมาณโดย OHCHR)[5][6]
เสียชีวิต: ตำรวจ 14 นาย[7]
เสียชีวิต: นักข่าว 1 ราย[8]
Injuries: 23 journalists[8]

ขบวนการไม่ให้ความร่วมมือ (เบงกอล: অসহযোগ আন্দোলন, อักษรโรมัน: Ôsôhôjōg Āndōlôn; อสหโชค อานโทลัน, อังกฤษ: non-cooperation movement) หรือ ขบวนการจุดเดียว (เบงกอล: এক দফা আন্দোলন, อักษรโรมัน: Ēk Dôphā Āndōlôn; เอก ทผา อานโทลัน, อังกฤษ: one-point movement) เป็นชื่อการประท้วงต่อต้านรัฐบาลบังกลาเทศ ที่มีจุดเริ่มต้นมาจากการประท้วงกรณีการปฏิรูปการจัดสรร จุดมุ่งหมายเดี่ยวของการประท้วงคือการลาออกจากตำแหน่งของนายกรัฐมนตรีบังกลาเทศ เศข หาสินา และ คณะรัฐมนตรีของเธอ[9][10]

แรกเริ่มเดิมที การประท้วงมีจุดมุ่งหมายอยู่ที่การคัดค้านระบบการจัดสรรตำแหน่งข้าราชการ ก่อนจะลุกลามมาเป็นการประท้วงต่อต้านรัฐบาลครั้งใหญ่ที่มีผู้ประท้วงถูกฆาตกรรมจำนวนมาก การะรปท้วงนี้ยังถูกทำให้แย่ลงด้วยปัญหาทางการเมืองและเศรษฐสังคมที่ดำเนินอยู่ในบังกลาเทศ รวมไปถึงการจัดการเศรษฐกิจของรัฐบาล การฉ้อโกงในรัฐบาล ปัญหาการละเมิดสิทธิมนุษยชน และข้อกล่าวหาเป็นปรปักษ์ต่อเอกราชของบังกลาเทศต่อเศข หาสินา ไปจนถึงการกลายเป็นลัทธิเผด็จการและการถดถอยทางประชาธิปไตยในประเทศ[11][12][13][14][15]

เมื่อวันที่ 3 สิงหาคม 2024 ขบวนการนักศึกษาต่อต้านการเลือกปฏิบัติประกาศความต้องการข้อเดียว (one-point demand) คือให้นายกรัฐมนตรีลงจากตำแหน่งพร้อมทั้งคณะรัฐมนตรีของเธอ[16][17] ในัวนต่อมาเกิดการปะทะกันจนเป็นผลให้มีผู้เสียชีวิต 97 ราย ในจำนวนนี้มีนักศึกษาอยู่ด้วย ผู้ประท้วงจัดการเดินขบวนมุ่งหน้าไปเมืองหลวง ธากา เพื่อกดดันให้หาสินาลาออกจากตำแหน่งในวันที่ 5 โดยมีผู้เข้าร่วมขบวนจำนวนมาก[18] เมื่อเวลาราวบ่ายสามโมง (UTC+6) เศข หาสินา ประกาศลาออกจากตำแหน่งและลี้ภัยไปยังประเทศอินเดีย ซึ่งเป็นพันธมิตรสำคัญของรัฐบาลเธอ[19] ตามมาด้วยการจัดตั้งรัฐบาลเปลี่ยนผ่านโดยประธานาธิบดี โมฮัมเมด ชาฮาบูดดีน โดยมีมูฮัมมัด ยูนุส เป็นผู้นำรัฐบาลชั่วคราว

อ้างอิง

[แก้]
  1. "Bangladesh's Protests Ends Sheikh Hasina's 15-year Reign". The Custodian. 5 August 2024. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 6 August 2024. สืบค้นเมื่อ 5 August 2024.
  2. แม่แบบ:Cite youtube
  3. "ভয় দেখিয়ে কর্মসূচি প্রত্যাহার করিয়ে ছাত্র-জনতাকে বিভ্রান্ত করা যাবে না". 31 July 2024. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 5 August 2024. สืบค้นเมื่อ 5 August 2024.
  4. ""No to Military Rule" in Bangladesh!". เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 6 August 2024. สืบค้นเมื่อ 6 August 2024.
  5. Preliminary Analysis of Recent Protests and Unrest in Bangladesh (Report). Office of the United Nations High Commissioner for Human Rights. 2024-08-16. pp. 6–7. According to available public reports by media and the protest movement itself, between 16 July and 11 August, more than 600 people were killed. Of these, nearly 400 deaths were reported from 16 July to 4 August, while around 250 people were reportedly killed following the new wave of protests between 5 and 6 August. [...] The reported death toll is likely an underestimate, as information collection has been hindered by restrictions on movement due to the curfew and the internet shutdown. Furthermore, hospitals were reportedly prevented by State authorities from providing details of those killed and injured. The majority of deaths and injuries have been attributed to the security forces and the student wing affiliated with the Awami League.
  6. "UN report: Over 600 killed in Bangladesh between July 16 and Aug 11". Dhaka Tribune. UNB. 2024-08-16.
  7. "দুই জেলায় ১৪ পুলিশ সদস্য নিহত, দাবি পুলিশ সদর দফতরের". Bonik Barta. 4 August 2024. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 4 August 2024. สืบค้นเมื่อ 4 August 2024.
  8. 8.0 8.1 "একজন সাংবাদিক নিহত, অন্তত ২৩ জন আহত". Prothom-alo (ภาษาเบงกอล). 4 August 2024. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 4 August 2024. สืบค้นเมื่อ 4 August 2024.
  9. Hasnat, Saif; Mashal, Mujib. "Roaring Back After Crackdown, Bangladesh Protesters Demand Leader's Ouster". The New York Times. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 4 August 2024. สืบค้นเมื่อ 4 August 2024.
  10. "শহীদ মিনার থেকে এক দফা ঘোষণা". মানবজমিন (ภาษาเบงกอล). เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 3 August 2024. สืบค้นเมื่อ 3 August 2024.
  11. Lu, Christina (2024-08-07). "What's Behind Bangladesh's Student Protests?". Foreign Policy (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 4 August 2024. สืบค้นเมื่อ 2024-08-03.
  12. "Is the system rigged against meritocracy?". The Daily Star (ภาษาอังกฤษ). 2024-07-10. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 16 July 2024. สืบค้นเมื่อ 2024-08-03.
  13. Ahmed, Redwan; Ellis-Petersen, Hannah (2024-07-26). "Bangladesh student protests turn into 'mass movement against a dictator'". The Guardian (ภาษาอังกฤษแบบบริติช). ISSN 0261-3077. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 4 August 2024. สืบค้นเมื่อ 2024-08-03.
  14. Charlie Campbell (2023-11-02). "Sheikh Hasina and the Future of Democracy in Bangladesh". TIME (ภาษาอังกฤษ). เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 4 January 2024. สืบค้นเมื่อ 2024-08-03.
  15. "Sheikh Hasina doesn't sell the country, say prime minister". Prothomalo (ภาษาอังกฤษ). 25 June 2024. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 5 August 2024. สืบค้นเมื่อ 5 August 2024.
  16. "It's now one point". the daily star (ภาษาอังกฤษ). เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 3 August 2024. สืบค้นเมื่อ 3 August 2024.
  17. "One Point Demand' announced from Central Shaheed Minar". bonik barta (ภาษาอังกฤษ). เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 3 August 2024. สืบค้นเมื่อ 3 August 2024.
  18. "PM resigned, interim govt to be formed: Army chief". The Daily Star (ภาษาอังกฤษ). 2024-08-05. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 5 August 2024. สืบค้นเมื่อ 2024-08-05.
  19. "Bangladesh PM Sheikh Hasina resigns and flees country as protesters storm palace". BBC News. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 5 August 2024. สืบค้นเมื่อ 5 August 2024.