ปืนกลเอ็ม 60
ปืนกลสหรัฐ, คาลิเบอร์ 7.62 มม, เอ็ม60 | |
---|---|
ชนิด | ปืนกลอเนกประสงค์ |
แหล่งกำเนิด | สหรัฐอเมริกา |
บทบาท | |
ประจำการ | ค.ศ. 1957–ปัจจุบัน |
ผู้ใช้งาน | ดู ผู้ใช้ |
สงคราม | สงครามเวียดนาม สงครามกลางเมืองลาว สงครามกลางเมืองกัมพูชา Moro conflict สงครามกัมพูชา–เวียดนาม Salvadoran Civil War The Troubles Operation Just Cause สงครามอ่าวเปอร์เซีย สงครามในอัฟกานิสถาน สงครามกลางเมืองเลบานอน สงครามอิรัก กรณีพิพาทพรมแดนไทย–กัมพูชา Colombian armed conflict Insurgency in the Philippines Bougainville Civil War และอื่น ๆ |
ประวัติการผลิต | |
ช่วงการออกแบบ | ค.ศ. 1952–1957[1] |
บริษัทผู้ผลิต | Saco Defense U.S. Ordnance |
มูลค่าต่อหน่วย | 6,000 ดอลลาร์[2] |
ช่วงการผลิต | ค.ศ. 1957–ปัจจุบัน |
แบบอื่น | See Variants |
ข้อมูลจำเพาะ | |
มวล | 10.5 kg (23.15 lb) |
ความยาว | 1,105 mm (43.5 in) |
ความยาวลำกล้อง | 560 mm (22.0 in) |
กระสุน | 7.62×51mm NATO |
ขนาดลำกล้องปืน | 7.62 mm (0.308 in) |
การทำงาน | Gas-operated, short-stroke gas piston,[3] open bolt |
อัตราการยิง | 550 RPM |
ความเร็วปากกระบอก | 2,800 ft/s (853 m/s) |
ระยะหวังผล | 1,200 yd (1,100 m) |
ระบบป้อนกระสุน | Disintegrating belt with M13 Links |
ศูนย์เล็ง | Iron sights |
เอ็ม60 ชื่ออย่างเป็นทางการว่า ปืนกลสหรัฐ, คาลิเบอร์ 7.62 มม, เอ็ม60 เป็นตระกูลของปืนกลอเนกประสงค์สัญชาติอเมริกัน ซึ่งยิงด้วยกระสุนขนาด 7.62×51มม. นาโต้ จากการกระจัดกระจายของสายพานกระสุนของเอ็ม13 ลิงก์ มีกระสุนหลายประเภทที่ได้รับการอนุมัติให้ใช้สำหรับปืนกลเอ็ม60 รวมทั้งกระสุนหัวบอล กระสุนส่องวิถี และกระสุนเจาะเกราะ
ได้ถูกนำเสนอในปี ค.ศ. 1957 มันได้เข้าประจำการในกองทัพสหรัฐและยังคงมีการใช้งานในกองกำลังติดอาวุธอื่น ๆ มันได้ถูกผลิตและอัพเกรดอย่างต่อเนื่องสำหรับกองทัพ และการสั่งซื้อขายยังคงดำเนินต่อไปในศตวรรษที่ 21 แม้ว่ามันจะถูกแทนที่หรือเสริมเพิ่มเติมในหน้าที่ส่วนใหญ่โดยการออกแบบอื่น ๆ ที่โดดเด่นมากที่สุดคือ ปืนกลเอ็ม240 ที่ประจำการในกองทัพสหรัฐ
ภาพรวม
[แก้]เอ็ม 60 เป็นปืนกลใช้ระบบป้อนกระสุนแบบสายพาน ที่ยิงกระสุนปืน 7.62×51 มม. นาโต (คล้ายกับ .308 วินเชสเตอร์)
ผู้ใช้
[แก้]- แอลจีเรีย[4]
- ออสเตรเลีย:[5] ถูกแทนที่ด้วย FN Minimi (บทบาทเบา)และ FN MAG (บทบาทเอนกประสงค์)
- โบลิเวีย[6]
- บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา[6]
- บราซิล[6]
- กัมพูชา[7]
- ชิลี[6]
- จีน: ยึดปืนกลจากสงครามจีน-เวียดนามและ ความขัดแย้งจีน-เวียดนาม[ต้องการอ้างอิง]
- โคลอมเบีย[6]
- คอสตาริกา[6]
- เช็กเกีย: M60E4 ถูกใช้ในจำนวนเล็กน้อยโดยหน่วยพิเศษของกองทัพเช็ก[8] ทราบว่าถูกใช้โดยกองกำลังพิเศษกลุ่มที่ 601 ในปี 2549 เพื่อแทนที่ UK-59L[9]
- สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก[6]
- เดนมาร์ก: ตั้งแต่ปี 2558 กองทัพเดนมาร์กจะได้รับ M60E6 มากกว่า 600 กระบอก[10]
- สาธารณรัฐโดมินิกัน[6]
- เอลซัลวาดอร์[11]
- อียิปต์[4]
- ฟีจี[6]
- กานา[4]
- กรีซ[6]
- เฮติ[6]
- ฮอนดูรัส[6]
- อิตาลี[4]
- อินโดนีเซีย[6]
- จอร์แดน[6]
- เลบานอน[12]
- ไลบีเรีย[6]
- ลิทัวเนีย: ได้รับมอบ M60 จำนวน 75 กระบอก ในปี 2545 จาก "สำนักงานส่งกำลังบำรุงกลาโหม" ของสหรัฐอเมริกา[13]
- ลักเซมเบิร์ก:[14] ใช้มา พ.ศ. 2500 – 2515 แทนที่ด้วย FN MAG
- มาเลเซีย: M60E3 ใช้ในกองทัพมาเลเซีย Grup Gerak Khas.[15]
- เม็กซิโก[4]
- โมร็อกโก[6]
- เนเธอร์แลนด์[4]
- นิการากัว[6]
- ปานามา[6]
- ปาปัวนิวกินี[16]
- เปรู[6]
- ฟิลิปปินส์[6]
- โปรตุเกส: กองทัพโปรตุเกสใช้ M60E และ D ติดตั้งบน V-150 Commando[17]
- เซนต์วินเซนต์และเกรนาดีนส์
- เซเนกัล: ได้รับมอบ M60 จำนวน 2,500 ลำในปี 2545 จาก "สำนักงานส่งกำลังบำรุงกลาโหม" ของสหรัฐอเมริกา.[13]
- เกาหลีใต้:[5] ผลิตภายใต้ลิขสิทธิ์ตั้งแต่ปี 1974[18]
- เซนต์วินเซนต์และเกรนาดีนส์[6]
- สเปน[4]
- ซูดาน[6]
- ไต้หวัน: ผลิตในประเทศ[5][19]
- ไทย[6]
- ตรินิแดดและโตเบโก[6]
- ตูนิเซีย[6]
- ตุรกี[20]
- ยูกันดา[6]
- สหราชอาณาจักร: ใช้โดยกองทัพอากาศ ติดตั้งบนเฮริคอปเตอร์ Chinook[21]
- สหรัฐอเมริกา: มีโดยกองทัพบกสหรัฐ[22] และกองทัพเรือสหรัฐ (บางหน่วย, บางรัฐได้ปลดประจำการ)[23]
- เวเนซุเอลา[6]
- เวียดนาม: ใช้โดย กองทัพประชาชนเวียดนามและอดีตของกองทัพบกเวียดนามใต้[24]
ผู้ใช้ที่ไม่ใช่รัฐ
[แก้]- Amal Movement[25]
- Army of Free Lebanon (AFL)[ต้องการอ้างอิง]
- Bougainville Revolutionary Army (BRA)[ต้องการอ้างอิง]
- Lebanese Arab Army (LAA)[ต้องการอ้างอิง]
- Lebanese Forces[ต้องการอ้างอิง]
- Revolutionary Armed Forces of Colombia (FARC)[ต้องการอ้างอิง]
- Moro Islamic Liberation Front (MILF)[26]
- Nicaraguan Contras[27]
- Progressive Socialist Party/People's Liberation Army (PLA) of Lebanon[ต้องการอ้างอิง]
- Provisional Irish Republican Army[28]
- Lord Resistance Army[29]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ "T52E3 – An M60 Prototype". March 14, 2012.
- ↑ อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อfasM60page
- ↑ "Modern Firearms – M60". 2010-10-27. สืบค้นเมื่อ March 6, 2012.
- ↑ 4.0 4.1 4.2 4.3 4.4 4.5 4.6 Bonn International Center for Conversion; Bundeswehr Verification Center. "M60". SALW Guide: Global distribution and visual identification.
- ↑ 5.0 5.1 5.2 "Profiling the Small Arms Industry". 2009-11-13. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-10-11. สืบค้นเมื่อ 2019-06-22.
- ↑ 6.00 6.01 6.02 6.03 6.04 6.05 6.06 6.07 6.08 6.09 6.10 6.11 6.12 6.13 6.14 6.15 6.16 6.17 6.18 6.19 6.20 6.21 6.22 6.23 6.24 6.25 6.26 Jones, Richard D. Jane's Infantry Weapons 2009/2010. Jane's Information Group; 35 edition (January 27, 2009). ISBN 978-0-7106-2869-5.
- ↑ "Small Arms Survey – Working Papers" (PDF). November 8, 2012. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2010-07-04. สืบค้นเมื่อ December 23, 2014.
- ↑ http://www.army.cz/assets/files/9334/zbrane_definit.pdf
- ↑ "601st Special Forces Group Official Website". สืบค้นเมื่อ December 23, 2014.
- ↑ อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อkrigeren.dk
- ↑ Gander, Terry J.; Hogg, Ian V. Jane's Infantry Weapons 1995/1996. Jane's Information Group; 21 edition (May 1995). ISBN 978-0-7106-1241-0.
- ↑ "Ambassador Hale Reaffirms U.S. Commitment to the Lebanese Army at Humvee Handover Ceremony". 2014. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ เมษายน 7, 2014.
- ↑ 13.0 13.1 "Archived copy". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ February 18, 2014. สืบค้นเมื่อ 2014-03-05.
{{cite web}}
: CS1 maint: archived copy as title (ลิงก์) - ↑ GRAND-DUCHY OF LUXEMBOURG เก็บถาวร มกราคม 26, 2011 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- ↑ Thompson, Leroy (December 2008). "Malaysian Special Forces". Special Weapons. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-07-22. สืบค้นเมื่อ 2010-05-20.
- ↑ Capie, David (2004). Under the Gun: The Small Arms Challenge in the Pacific. Wellington: Victoria University Press. pp. 63–65. ISBN 978-0864734532.
- ↑ "LAV-150 – Textron Marine & Land / Portugal". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2009-09-30. สืบค้นเมื่อ December 23, 2014.
- ↑ William Shaw (September 1984). "South Korean Foreign Military Sales Program" (PDF). Library of Congress. p. 9. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2011-04-28. สืบค้นเมื่อ 2019-06-22.
- ↑ "Personal infantry weapons: old weapons or new hardware in the coming decades?". สืบค้นเมื่อ December 23, 2014.
- ↑ "Turkey Army Turkish Land Forces modern military equipment armoured vehicle . Equipements vhicules b – Army Recognition". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ March 11, 2010. สืบค้นเมื่อ December 23, 2014.
- ↑ "RAF – Chinook". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ มกราคม 2, 2015. สืบค้นเมื่อ ธันวาคม 23, 2014.
- ↑ Miller, David (2001). The Illustrated Directory of 20th Century Guns. Salamander Books Ltd. ISBN 1-84065-245-4.
- ↑ "M60E3 & MK43 Mod 0". Navy SEALs. สืบค้นเมื่อ December 23, 2014.
- ↑ "Tại sao Việt Nam nên dùng lâu dài súng máy M60 Mỹ?". 2016-12-06. |publisher=kienthuc |date= |access-date=2016-12-05
- ↑ Samuel M. Katz and Ron Volstad, Arab Armies of the Middle East Wars 2, Men-at-arms series 194, Osprey Publishing Ltd, London 1988, p. 46, Plate G3. ISBN 0-85045-800-5
- ↑ Cecille Suerte Felipe (พฤษภาคม 18, 2015). "MILF has yet to yield SAF guns". The Philippine Star. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ กันยายน 23, 2016. สืบค้นเมื่อ สิงหาคม 30, 2016.
- ↑ Carlos Caballero Jurado, Nigel Thomas and Simon McCouaig, Central American Wars 1959–89, Men-at-arms series 221, Osprey Publishing Ltd, London 1990, p. 45, Plate G1. ISBN 9780850459456
- ↑ Christopher Dobson and Ronald Payne (1982). The Terrorists: Their Weapons, Leaders, and Tactics. Facts on File. pp. 119–120. ISBN 978-0871966681.
{{cite book}}
: CS1 maint: uses authors parameter (ลิงก์) - ↑ Small Arms Survey (2007). "Persistent Instability: Armed Violence and Insecurity in South Sudan" (PDF). The Small Arms Survey 2007: Guns and the City. Cambridge University Press. p. 325. ISBN 978-0-521-88039-8.