ข้ามไปเนื้อหา

โคเอนไซม์คิว10

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก Coenzyme Q10)
โคเอนไซม์คิว10
ชื่อ
IUPAC name
2-[(2E,6E,10E,14E,18E,22E,26E,30E,34E)-3,7,11,15,19,23,27,31,35,39-Decamethyltetraconta-2,6,10,14,18,22,26,30,34,38-decaenyl]-5,6-dimethoxy-3-methylcyclohexa-2,5-diene-1,4-dione
เลขทะเบียน
3D model (JSmol)
ChEBI
ChEMBL
เคมสไปเดอร์
ECHA InfoCard 100.005.590 แก้ไขสิ่งนี้ที่วิกิสนเทศ
UNII
  • InChI=1S/C59H90O4/c1-44(2)24-15-25-45(3)26-16-27-46(4)28-17-29-47(5)30-18-31-48(6)32-19-33-49(7)34-20-35-50(8)36-21-37-51(9)38-22-39-52(10)40-23-41-53(11)42-43-55-54(12)56(60)58(62-13)59(63-14)57(55)61/h24,26,28,30,32,34,36,38,40,42H,15-23,25,27,29,31,33,35,37,39,41,43H2,1-14H3/b45-26+,46-28+,47-30+,48-32+,49-34+,50-36+,51-38+,52-40+,53-42+ checkY
    Key: ACTIUHUUMQJHFO-UPTCCGCDSA-N checkY
  • InChI=1/C59H90O4/c1-44(2)24-15-25-45(3)26-16-27-46(4)28-17-29-47(5)30-18-31-48(6)32-19-33-49(7)34-20-35-50(8)36-21-37-51(9)38-22-39-52(10)40-23-41-53(11)42-43-55-54(12)56(60)58(62-13)59(63-14)57(55)61/h24,26,28,30,32,34,36,38,40,42H,15-23,25,27,29,31,33,35,37,39,41,43H2,1-14H3/b45-26+,46-28+,47-30+,48-32+,49-34+,50-36+,51-38+,52-40+,53-42+
    Key: ACTIUHUUMQJHFO-UPTCCGCDBK
  • O=C1/C(=C(\C(=O)C(\OC)=C1\OC)C)C\C=C(/C)CC\C=C(/C)CC\C=C(/C)CC\C=C(/C)CC\C=C(/C)CC\C=C(/C)CC\C=C(/C)CC\C=C(/C)CC\C=C(/C)CC\C=C(/C)C
คุณสมบัติ
C59H90O4
มวลโมเลกุล 863.365 g·mol−1
สารประกอบอื่นที่เกี่ยวข้องกัน
ควิโนนที่เกี่ยวข้อง
1,4-Benzoquinone
Plastoquinone
Ubiquinol
หากมิได้ระบุเป็นอื่น ข้อมูลข้างต้นนี้คือข้อมูลสาร ณ ภาวะมาตรฐานที่ 25 °C, 100 kPa

โคเอนไซม์คิว10 (อังกฤษ: Coenzyme Q10) หรือยูบิควิโนน (อังกฤษ: ubiquinone) ยูบิเดคาริโนน (อังกฤษ: ubidecarenone) โคเอ็นไซม์คิว บางครั้งย่อเป็นโคคิวเท็น (CoQ10) โคคิว หรือคิวเท็น คือ 1-4 เบนโซควิโนน โดยคิวหมายถึงหมู่เคมีควิโนน และ 10 หมายถึง จำนวนหน่วยย่อยเคมีไอโซพรีนิลในหาง

โคเอนไซม์คิว10 เป็นสารคล้ายวิตามิน ละลายในไขมัน พบในไมโทคอนเดรียเป็นหลักของเซลล์ยูคาริโอตส่วนใหญ่ มันเป็นองค์ประกอบของลูกโซ่ของการขนส่งอิเล็กตรอน และมีส่วนในการหายใจระดับเซลล์แบบใช้ออกซิเจน ซึ่งสร้างพลังงานในรูปเอทีพี พลังงาน 95% ของร่างกายมนุษย์ผลิตด้วยวิธีนี้ ฉะนั้น อวัยวะที่ต้องการพลังงานสูงสุด เช่น หัวใจ ตับและไต จึงมีความเข้มข้นของโคเอนไซม์คิว10 สูงสุด[1][2][3] โคคิวเท็นมีสามสถานะรีด็อกซ์ คือ ออกซิไดซ์สมบูรณ์ (ยูบิควิโนน) กึ่งควิโนน (ยูบิเซมิควิโนน) และรีดิวซ์สมบูรณ์ (ยูบิควินอล) ขีดความสามารถของโมเลกุลนี้ในการมีอยู่ในรูปออกซิไดซ์สมบูรณ์และรีดิวซ์สมบูรณ์ทำให้มันทำหน้าที่ในลูกโซ่ของการขนส่งอิเล็กตรอน และเป็นสารต้านอนุมูลอิสระตามลำดับ

อ้างอิง

[แก้]
  1. Okamoto, T; Matsuya, T; Fukunaga, Y; Kishi, T; Yamagami, T (1989). "Human serum ubiquinol-10 levels and relationship to serum lipids". International journal for vitamin and nutrition research. Internationale Zeitschrift fur Vitamin- und Ernahrungsforschung. Journal international de vitaminologie et de nutrition. 59 (3): 288–92. PMID 2599795.
  2. Aberg, F; Appelkvist, EL; Dallner, G; Ernster, L (1992). "Distribution and redox state of ubiquinones in rat and human tissues". Archives of biochemistry and biophysics. 295 (2): 230–4. doi:10.1016/0003-9861(92)90511-T. PMID 1586151.
  3. Shindo, Y; Witt, E; Han, D; Epstein, W; Packer, L (1994). "Enzymic and non-enzymic antioxidants in epidermis and dermis of human skin". The Journal of investigative dermatology. 102 (1): 122–4. doi:10.1111/1523-1747.ep12371744. PMID 8288904.