ข้ามไปเนื้อหา

โอเวอร์วอตช์เวิลด์คัพ 2017

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
โอเวอร์วอตช์เวิลด์คัพ 2017
โอเวอร์วอตช์เวิลด์คัพ 2017
ข้อมูลการแข่งขัน
กีฬาอีสปอตส์ในเกม โอเวอร์วอตช์
ที่ตั้งแอนาไฮม์ รัฐแคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา
วันที่3–4 พฤศจิกายน 2560
ผู้จัดการแข่งขันบลิซซาร์ดเอ็นเตอร์เทนเมนต์
รูปแบบ32 ทีมในรอบแบ่งกลุ่ม
8 ทีมในรอบแพ้คัดออก
ทีม32 ทีม
เว็บไซต์https://worldcup.playoverwatch.com/
ตำแหน่งสุดท้าย
Championsประเทศเกาหลีใต้ เกาหลีใต้
อันดับ 2ประเทศแคนาดา แคนาดา
ทีมรองอันดับ 2ประเทศสวีเดน สวีเดน
MVPประเทศแคนาดา xQc
ผู้ชนะเลิศปัจจุบัน
← 2016
2018 →

การแข่งขันโอเวอร์วอตช์เวิลด์คัพ 2017 คือการแข่งขันกีฬาอีสปอตส์ประเภทเกม โอเวอร์วอตช์ จัดตั้งโดยบลิซซาร์ดเอ็นเตอร์เทนเมนต์ซึ่งเป็นผู้พัฒนาเกมดังกล่าวขึ้น การแข่งขันประกอบด้วยตัวแทนทีมจาก 32 ชาติทั่วโลก และจะถูกจัดขึ้นที่ศูนย์การประชุมแอนาไฮม์ ในวันที่ 3 ถึง 4 พฤศจิกายน[1][2] โดยการแข่งขันถูกแบ่งออกเป็น 4 ระยะต่างกัน

ระยะที่ 1 การประกาศ

[แก้]

เป็นการจัดอันดับทักษะของ 100 ผู้เล่นสูงสุดในเกมโอเวอร์วอตช์จากแต่ละประเทศ/ภูมิภาคที่จะมีคุณสมบัติเข้าสู่การแข่งขันจาก 32 ชาติ/ภูมิภาคตามค่าเฉลี่ยทักษะจาก 100 อันดับผู้เล่น[2]

การจัดคุณสมบัติของประเทศหรือดินแดน

[แก้]
อันดับ ประเทศ/ภูมิภาค อันดับ ประเทศ/ภูมิภาค
1 ประเทศจีน จีน 17 ประเทศนอร์เวย์ นอร์เวย์
2 ประเทศเกาหลีใต้ เกาหลีใต้ 18 ประเทศโปแลนด์ โปแลนด์
3 สหรัฐอเมริกา สหรัฐอเมริกา 19 ประเทศอิตาลี อิตาลี
4 ประเทศสวีเดน สวีเดน 20 ประเทศบราซิล บราซิล
5 ประเทศฟินแลนด์ ฟินแลนด์ 21 ประเทศสเปน สเปน
6 สหราชอาณาจักร สหราชอาณาจักร 22 ประเทศอิสราเอล อิสราเอล
7 ประเทศแคนาดา แคนาดา 23 ประเทศสิงคโปร์ สิงคโปร์
8 ประเทศฝรั่งเศส ฝรั่งเศส 24 ประเทศไทย ไทย
9 ประเทศเดนมาร์ก เดนมาร์ก 25 ประเทศอาร์เจนตินา อาร์เจนตินา
10 ประเทศรัสเซีย รัสเซีย 26 ประเทศตุรกี ตุรกี
11 ประเทศเยอรมนี เยอรมนี 27 ประเทศเบลเยียม เบลเยียม
12 ประเทศญี่ปุ่น ญี่ปุ่น 28 ประเทศเวียดนาม เวียดนาม
13 ประเทศออสเตรเลีย ออสเตรเลีย 29 ประเทศโปรตุเกส โปรตุเกส
14 จีนไทเป จีนไทเป 30 ประเทศนิวซีแลนด์ นิวซีแลนด์
15 ประเทศเนเธอร์แลนด์ เนเธอร์แลนด์ 31 ประเทศออสเตรีย ออสเตรีย
16 ฮ่องกง ฮ่องกง 32 ประเทศโรมาเนีย โรมาเนีย

ระยะที่ 2 การลงคะแนน

[แก้]

การนำเอา 32 ประเทศที่ซึ่งถูกเลือกไว้แล้ว โดยผู้เล่นและผู้ชมสามารถลงคะแนนให้กับผู้แทนของแต่ละภูมิภาคเพื่อเป็นคณะกรรมการการแข่งขันจากแต่ละภูมิภาค ซึ่งเป็นผู้เชื่อถือได้สำหรับการคัดเลือกผู้เล่นในทีมที่แข็งแกร่งที่สุดสำหรับภูมิภาคนั้น โดยทีมชาติซึ่งผ่านเข้าสู่รอบแบ่งกลุ่มและรอบสุดท้ายจะมาพร้อมกับสมาชิกคณะกรรมการการแข่งขันของตนเอง[2]

สมาชิกคณะกรรมการประจำชาติ

[แก้]

รายชื่อผู้เล่นที่เป็นคณะกรรมการประจำชาติ[3]

ชาติ สมาชิกคณะกรรมการ
ประเทศจีน จีน JamLee (iG.Ice) XiaoYao (iG.Ice) Muzi (iG.Fire)
ประเทศเกาหลีใต้ เกาหลีใต้ Runner (RunAway) Themarine Yongbongtang
สหรัฐอเมริกา สหรัฐอเมริกา Jason Kaplan KyKy (ทีมเอ็นวีอัส) Ster
ประเทศสวีเดน สวีเดน iddqd (NRG Esports) TviQ (Misfits) Zebbosai (Misfits)
ประเทศฟินแลนด์ ฟินแลนด์ Taimou (ทีมเอ็นวีอัส) Tseini (เอ็นวิชัน อีสปอร์ต) zappis (นินจาส์อินพิจามัส)
สหราชอาณาจักร สหราชอาณาจักร Kruise (อียูไนเต็ด) numlocked (เอ็นอาร์จี อีสปอร์ต) Stylosa
ประเทศแคนาดา แคนาดา Mangachu (เรเนเกดส์) HuK (โตรอนโต อีสปอร์ต) pokelawls
ประเทศฝรั่งเศส ฝรั่งเศส AlphaCast DeGuN Troma
ประเทศเดนมาร์ก เดนมาร์ก Krytox (ทีมซิงกูลาริตี) Lind (ทีมซิงกูลาริตี) Nerfdd (ทีมซิงกูลาริตี)
ประเทศรัสเซีย รัสเซีย Anak Rubikon (อียูไนเต็ด) ShaDowBurn (FaZe Clan)
ประเทศเยอรมนี เยอรมนี Cirouss INTERNETHULK (Rogue) skipjack (เลเซอร์คิตเตนซ์)
ประเทศญี่ปุ่น ญี่ปุ่น Stansmith 江尻 勝 (DeToNator) 太田 桂 (SunSister)
ประเทศออสเตรเลีย ออสเตรเลีย HeyKatie SereNity (แบล็ค อีสปอร์ต) Uber
จีนไทเป จีนไทเป Ray (แฟลชวูฟส์) AsSen (หรือ 阿森) 聶寶 (หรือ BabyNie)
ประเทศเนเธอร์แลนด์ เนเธอร์แลนด์ TwoEasy (เท็มโปสตอร์ม) Dante (โมวิสตาร์ ไรเดอร์) Morte (อียูไนเต็ด)
ฮ่องกง ฮ่องกง Kin-Long Wong (BBong mE) Moowe 熊貓人春日
ประเทศนอร์เวย์ นอร์เวย์ AverageJonas Invision (ทีมเอกซ์เปิร์ต) Zappy (อีปิฟานีโบล์ท)
ประเทศโปแลนด์ โปแลนด์ Blinku HighStyled Warchawk
ประเทศอิตาลี อิตาลี carnifex HAL Herc2
ประเทศบราซิล บราซิล baba1u (บราซิลเกมมิงเฮาส์) Cooruja pOkiz
ประเทศสเปน สเปน BromaS (ทีมดิคนิทาส) HarryHook (ทีมเอ็นวีอัส) Winghaven
ประเทศอิสราเอล อิสราเอล DeadlyMich (Ex-4ckers) inferi (Ex-4ckers) KAFEEEEE (Ex-4ckers)
ประเทศสิงคโปร์ สิงคโปร์ Sodafiz Strykerx (TitaNs Esports) Tsuki
ประเทศไทย ไทย sunwaltz Ravee castby9arm
ประเทศอาร์เจนตินา อาร์เจนตินา Bassoid (ฟิวเรียสเกมมิง) Klauss Parkita
ประเทศตุรกี ตุรกี H3x (ซูเปอร์แมสซีฟ อีสปอร์ต) Johnsinan (ทีมดริฟท์ไวร์) Yaga (ซูเปอร์แมสซีฟ อีสปอร์ต)
ประเทศเบลเยียม เบลเยียม AFoxx (วีวี แอดเวนเจอร์) Dhevin (เซ็กเตอร์ วัน) Toetje (เซ็กเตอร์ วัน)
ประเทศเวียดนาม เวียดนาม Min Trung Viruss
ประเทศโปรตุเกส โปรตุเกส didex (ฟอร์ เดอะ วิน อีสปอร์ต) Horthic mowzassa (เอกซ์-ไซโคลน)
ประเทศนิวซีแลนด์ นิวซีแลนด์ AVRL Nesty Smite
ประเทศออสเตรีย ออสเตรีย Mærcy Thrittly Wat7 (ทีมดิคนิทาส)
ประเทศโรมาเนีย โรมาเนีย cucubau Meza mL7 (ไอดีเอ็ม อีสปอร์ต)

สมาชิกทีมชาติ

[แก้]
ทีมชาติ ตำแหน่ง
โจมตี (Offense) แท็งก์ (Tank) สนับสนุน (Support) ยืดหยุ่น (Flex)
ประเทศจีน จีน uNdeAD (C) Eileen mg yaoyao Shy 5King
ประเทศเกาหลีใต้ เกาหลีใต้ Saebyeolbe (C) Fl0w3r Mano tobi ryujehong ZUNBA
สหรัฐอเมริกา สหรัฐอเมริกา JAKE sinatraa FCTFCTN Rawkus Adam coolmatt69
ประเทศสวีเดน สวีเดน TviQ Reinforce Zebbosai Chipshajen CWoosH Manneten
ประเทศฟินแลนด์ ฟินแลนด์ Taimou fragi kyynel Zuppehw LinkZr zappis
สหราชอาณาจักร สหราชอาณาจักร Kruise MikeyA ChrisTFer Boombox Realzx Smex
ประเทศแคนาดา แคนาดา Surefour Agilities xQc Joemeister Roolf Mangachu (C)
ประเทศฝรั่งเศส ฝรั่งเศส aKm SoOn KnOxXx uNKOE winz (C) NiCOgdh
ประเทศเดนมาร์ก เดนมาร์ก Krytox Kragie Nerfdd Kellex Lind Fischer (C)
ประเทศรัสเซีย รัสเซีย ShaDowBurn sharyk Rubikon (C) Forsak3n Mistakes Txao
ประเทศเยอรมนี เยอรมนี cRNKz skipjack INTERNETHULK Veineless Nesh EISSFELDT
ประเทศญี่ปุ่น ญี่ปุ่น Aktm Ta1yo deartn Claire yoz Jasper
ประเทศออสเตรเลีย ออสเตรเลีย aetar kiki rqt gunba trill ieatuup
จีนไทเป จีนไทเป Zonda Baconjack Jongie KMoMo S1nkler realment
ประเทศเนเธอร์แลนด์ เนเธอร์แลนด์ TwoEasy (C) Vizility Jona Morte Dante CrusaDe
ฮ่องกง ฮ่องกง Moowe Hyper (C) Pandaren JazZy Mix ManGoLongJai
ประเทศนอร์เวย์ นอร์เวย์ Invision Iko (C) Decod Trob ONIGOD iPN
ประเทศโปแลนด์ โปแลนด์ DANYE matth setrox ślepajstos Tank117 Matwoj (C)
ประเทศอิตาลี อิตาลี carnifex Cerys Bimbz Nisa fighteR link
ประเทศบราซิล บราซิล dudu liko neil kolero alemao murizzz
ประเทศสเปน สเปน Toxiken Bromas Winghaven HarryHook dhaK neptuNo
ประเทศอิสราเอล อิสราเอล DeadlyMich ShonP FrAgOn Eqo awkward KAFEEEEEE
ประเทศสิงคโปร์ สิงคโปร์ NeonTears JUNGEUNJI Zest (C) AJEN Cup RageOfTofu
ประเทศไทย ไทย NzNr oPuTo Teetawat keRLos Mickie (C) Pannys
ประเทศอาร์เจนตินา อาร์เจนตินา leviataN Nekta (C) BeastxZuken Ddx Klaus Battletoad
ประเทศตุรกี ตุรกี h3x (C) Yaga Edwin Nycto SURETLER46 Alfred
ประเทศเบลเยียม เบลเยียม Logix Brudor AFoxx baud Senpai SPREE
ประเทศเวียดนาม เวียดนาม MreA Kjerry Funky Simple Maverick Mrhip
ประเทศโปรตุเกส โปรตุเกส Horthic mowzassa Phatt Greyy kiler4fun Addicted
ประเทศนิวซีแลนด์ นิวซีแลนด์ Signed WILLx Legabril Birdy CantuS HooWoo
ประเทศออสเตรีย ออสเตรีย Iki Kabaji Wat7 (C) Itzeru Ub3rb1ng0 Sensotix
ประเทศโรมาเนีย โรมาเนีย cucubau Meza mL7 (C) tsema RANKNoMoJa EMKA

ระยะที่ 3 รอบแบ่งกลุ่ม

[แก้]

ทีมชาติ 32 อันดับแรกจะถูกแบ่งออกเป็นแปดกลุ่มกระจายไปทั่วทั้งสี่ภูมิภาค ได้แก่ เซี่ยงไฮ้ จีน, ซิดนีย์ ออสเตรเลีย, คาโตวีตเซ โปแลนด์ และ แซนตามอนิกา สหรัฐอเมริกา ซึ่งแต่ละกลุ่มจะทำการแข่งขันแบบเวียนกันไปแต่ละการแข่งขัน ในตอนสุดท้าย ทีมอันดับสูงสุด 2 ทีมในแต่ละกลุ่มจะผ่านเข้าสู่รอบแพ้คัดออกและผู้ชนะของแต่ละกลุ่มจะผ่านเข้าสู่สนามแปดทีมในการแข่งขันโอเวอร์วอตช์เวิลด์คัพ 2017 ที่บลิซซ์คอน[2]

รอบคัดเลือกเซี่ยงไฮ้

[แก้]

แข่งขันวันที่ 14 ถึง 16 กรกฎาคม 2560[4]

  • 14 กรกฎาคม 2560 เวลา 13:00 – 19:00 น. (06:00 – 12:00 GMT)
  • 15 กรกฎาคม 2560 เวลา 13:00 – 19:00 น. (06:00 – 12:00 GMT)
  • 16 กรกฎาคม 2560 เวลา 11:00 – 20:00 น. (04:00 – 13:00 GMT)
14 กรกฎาคม 15 กรกฎาคม 16 กรกฎาคม
จีน ประเทศจีน 4—0 ประเทศโรมาเนีย โรมาเนีย จีน ประเทศจีน 4—0 ประเทศนอร์เวย์ นอร์เวย์ จีน ประเทศจีน 4—0 ฮ่องกง ฮ่องกง
ฮ่องกง ฮ่องกง 1—3 ประเทศนอร์เวย์ นอร์เวย์ ฮ่องกง ฮ่องกง 2—2 ประเทศโรมาเนีย โรมาเนีย นอร์เวย์ ประเทศนอร์เวย์ 4—0 ประเทศโรมาเนีย โรมาเนีย
ฝรั่งเศส ประเทศฝรั่งเศส 4—0 ประเทศอาร์เจนตินา อาร์เจนตินา ฝรั่งเศส ประเทศฝรั่งเศส 3—1 ประเทศไทย ไทย ฝรั่งเศส ประเทศฝรั่งเศส 3—1 ประเทศเดนมาร์ก เดนมาร์ก
เดนมาร์ก ประเทศเดนมาร์ก 2—2 ประเทศไทย ไทย เดนมาร์ก ประเทศเดนมาร์ก 3—1 ประเทศอาร์เจนตินา อาร์เจนตินา ไทย ประเทศไทย 4—0 ประเทศอาร์เจนตินา อาร์เจนตินา
แหล่งข้อมูล : ตารางการแข่งขัน[5], ผลการแข่งขัน[6]

กลุ่มเอ

[แก้]
ตำแหน่ง ทีม สถิติ (W-T-L) สถิติรวม ต่าง คุณสมบัติ
1 ประเทศจีน จีน 3-0-0 12-0 +12 ผ่านเข้ารอบตัดเชือก
2 ประเทศนอร์เวย์ นอร์เวย์ 2-0-1 7-5 +2
3 ฮ่องกง ฮ่องกง 0-1-2 3-9 -6
4 ประเทศโรมาเนีย โรมาเนีย 0-1-2 2-10 -8

กลุ่มบี

[แก้]
ตำแหน่ง ทีม สถิติ (W-T-L) สถิติรวม ต่าง คุณสมบัติ
1 ประเทศฝรั่งเศส ฝรั่งเศส 3-0-0 10-2 +8 ผ่านเข้ารอบตัดเชือก
2 ประเทศไทย ไทย 1-1-1 7-5 +2
3 ประเทศเดนมาร์ก เดนมาร์ก 1-1-1 6-6 +0
4 ประเทศอาร์เจนตินา อาร์เจนตินา 0-0-2 1-11 -10

รอบคัดเลือกซิดนีย์

[แก้]

แข่งขันวันที่ 21 ถึง 23 กรกฎาคม 2560[4]

  • 21 กรกฎาคม 2560 เวลา 07:00 – 13:00 น. (00:00 – 06:00 GMT)
  • 22 กรกฎาคม 2560 เวลา 07:00 – 13:00 น. (00:00 – 06:00 GMT)
  • 23 กรกฎาคม 2560 เวลา 07:00 – 16:00 น. (00:00 – 09:00 GMT)
21 กรกฎาคม 22 กรกฎาคม 23 กรกฎาคม
ออสเตรเลีย ประเทศออสเตรเลีย 4—0 ประเทศอิตาลี อิตาลี สวีเดน ประเทศสวีเดน 4—0 ประเทศอิตาลี อิตาลี สวีเดน ประเทศสวีเดน 3—1 ประเทศออสเตรเลีย ออสเตรเลีย
สวีเดน ประเทศสวีเดน 2—2 ประเทศโปรตุเกส โปรตุเกส ออสเตรเลีย ประเทศออสเตรเลีย 4—0 ประเทศโปรตุเกส โปรตุเกส อิตาลี ประเทศอิตาลี 0—4 ประเทศโปรตุเกส โปรตุเกส
ฟินแลนด์ ประเทศฟินแลนด์ 4—0 ประเทศเวียดนาม เวียดนาม ฟินแลนด์ ประเทศฟินแลนด์ 0—4 ประเทศสเปน สเปน ฟินแลนด์ ประเทศฟินแลนด์ 2—2 ประเทศญี่ปุ่น ญี่ปุ่น
ญี่ปุ่น ประเทศญี่ปุ่น 3—1 ประเทศสเปน สเปน ญี่ปุ่น ประเทศญี่ปุ่น 4—0 ประเทศเวียดนาม เวียดนาม สเปน ประเทศสเปน 4—0 ประเทศเวียดนาม เวียดนาม
แหล่งข้อมูล : ตารางการแข่งขัน[7], ผลการแข่งขัน[6]

กลุ่มซี

[แก้]
ตำแหน่ง ทีม สถิติ (W-T-L) สถิติรวม ต่าง คุณสมบัติ
1 ประเทศสวีเดน สวีเดน 2-1-0 9-3 +6 ผ่านเข้ารอบตัดเชือก
2 ประเทศออสเตรเลีย ออสเตรเลีย 2-0-1 9-3 +6
3 ประเทศโปรตุเกส โปรตุเกส 1-1-1 6-6 +0
4 ประเทศอิตาลี อิตาลี 0-0-3 0-12 -12

กลุ่มดี

[แก้]
ตำแหน่ง ทีม สถิติ (W-T-L) สถิติรวม ต่าง คุณสมบัติ
1 ประเทศญี่ปุ่น ญี่ปุ่น 2-1-0 9-3 +6 ผ่านเข้ารอบตัดเชือก
2 ประเทศสเปน สเปน 2-0-1 9-3 +6
3 ประเทศฟินแลนด์ ฟินแลนด์ 1-1-1 6-6 +0
4 ประเทศเวียดนาม เวียดนาม 0-0-3 0-12 -12

รอบคัดเลือกคาโตวีตเซ

[แก้]

แข่งขันวันที่ 4 ถึง 6 สิงหาคม 2560[4]

  • 4 สิงหาคม 2560 เวลา 19:00 – 01:00 น. (12:00 – 18:00 GMT)
  • 5 สิงหาคม 2560 เวลา 19:00 – 01:00 น. (12:00 – 18:00 GMT)
  • 6 สิงหาคม 2560 เวลา 17:00 – 03:00 น. (10:00 – 20:00 GMT)
4 สิงหาคม 5 สิงหาคม 6 สิงหาคม
เนเธอร์แลนด์ ประเทศเนเธอร์แลนด์ 4—0 ประเทศโปแลนด์ โปแลนด์ เกาหลีใต้ ประเทศเกาหลีใต้ 4—0 ประเทศโปแลนด์ โปแลนด์ เกาหลีใต้ ประเทศเกาหลีใต้ 4—0 ประเทศเนเธอร์แลนด์ เนเธอร์แลนด์
เกาหลีใต้ ประเทศเกาหลีใต้ 4—0 ประเทศออสเตรีย ออสเตรีย เนเธอร์แลนด์ ประเทศเนเธอร์แลนด์ 4—0 ประเทศออสเตรีย ออสเตรีย โปแลนด์ ประเทศโปแลนด์ 4—0 ประเทศออสเตรีย ออสเตรีย
แคนาดา ประเทศแคนาดา 4—0 ประเทศตุรกี ตุรกี แคนาดา ประเทศแคนาดา 4—0 ประเทศสิงคโปร์ สิงคโปร์ แคนาดา ประเทศแคนาดา 2—2 ประเทศรัสเซีย รัสเซีย
รัสเซีย ประเทศรัสเซีย 4—0 ประเทศสิงคโปร์ สิงคโปร์ รัสเซีย ประเทศรัสเซีย 4—0 ประเทศตุรกี ตุรกี สิงคโปร์ ประเทศสิงคโปร์ 2—2 ประเทศตุรกี ตุรกี
รอบไทเบรก
แคนาดา ประเทศแคนาดา 2—0 ประเทศรัสเซีย รัสเซีย
แหล่งข้อมูล : ตารางการแข่งขัน[8], ผลการแข่งขัน[6]

กลุ่มอี

[แก้]
ตำแหน่ง ทีม สถิติ (W-T-L) สถิติรวม ต่าง คุณสมบัติ
1 ประเทศเกาหลีใต้ เกาหลีใต้ 3-0-0 12-0 +12 ผ่านเข้ารอบตัดเชือก
2 ประเทศเนเธอร์แลนด์ เนเธอร์แลนด์ 2-0-1 8-4 +4
3 ประเทศโปแลนด์ โปแลนด์ 1-0-2 4-8 -4
4 ประเทศออสเตรีย ออสเตรีย 0-0-3 0-12 -12

กลุ่มเอฟ

[แก้]
ตำแหน่ง ทีม สถิติ (W-T-L) สถิติรวม ต่าง คุณสมบัติ
1 ประเทศแคนาดา แคนาดา 2-1-0 10-2 +8 ผ่านเข้ารอบตัดเชือก
2 ประเทศรัสเซีย รัสเซีย 2-1-0 10-2 +8
3 ประเทศสิงคโปร์ สิงคโปร์ 0-1-2 2-10 -8
4 ประเทศตุรกี ตุรกี 0-1-2 2-10 -8

รอบคัดเลือกแซนตามอนิกา

[แก้]

แข่งขันวันที่ 11 ถึง 13 สิงหาคม 2560[4]

  • วันที่ 11 สิงหาคม 2560 เวลา 17:00 – 23:00 GMT (00:00 – 06:00 น. ของวันที่ 12 สิงหาคมตามเวลาในประเทศไทย)
  • วันที่ 12 สิงหาคม 2560 เวลา 17:00 – 23:00 GMT (00:00 – 06:00 น. ของวันที่ 13 สิงหาคมตามเวลาในประเทศไทย)
  • วันที่ 13 สิงหาคม 2560 เวลา 17:00 – 01:00 GMT (00:00 – 08:00 น. ของวันที่ 14 สิงหาคมตามเวลาในประเทศไทย)
11 สิงหาคม 12 สิงหาคม 13 สิงหาคม
สหรัฐอเมริกา สหรัฐอเมริกา 4—0 ประเทศนิวซีแลนด์ นิวซีแลนด์ สหรัฐอเมริกา สหรัฐอเมริกา 4—0 ประเทศบราซิล บราซิล สหรัฐอเมริกา สหรัฐอเมริกา 3—1 จีนไทเป จีนไทเป
จีนไทเป จีนไทเป 4—0 ประเทศบราซิล บราซิล จีนไทเป จีนไทเป 4—0 ประเทศนิวซีแลนด์ นิวซีแลนด์ บราซิล ประเทศบราซิล 3—1 ประเทศนิวซีแลนด์ นิวซีแลนด์
สหราชอาณาจักร สหราชอาณาจักร 4—0 ประเทศเบลเยียม เบลเยียม สหราชอาณาจักร สหราชอาณาจักร 4—0 ประเทศอิสราเอล อิสราเอล สหราชอาณาจักร สหราชอาณาจักร 4—0 ประเทศเยอรมนี เยอรมนี
เยอรมนี ประเทศเยอรมนี 3—2 ประเทศอิสราเอล อิสราเอล เยอรมนี ประเทศเยอรมนี 4—0 ประเทศเบลเยียม เบลเยียม อิสราเอล ประเทศอิสราเอล 3—1 ประเทศเบลเยียม เบลเยียม
แหล่งข้อมูล : ตารางการแข่งขัน[9], ผลการแข่งขัน[6]

กลุ่มจี

[แก้]
ตำแหน่ง ทีม สถิติ (W-T-L) สถิติรวม ต่าง คุณสมบัติ
1 สหรัฐอเมริกา สหรัฐอเมริกา 3-0-0 11-1 +10 ผ่านเข้ารอบตัดเชือก
2 จีนไทเป จีนไทเป 2-0-1 9-3 +6
3 ประเทศบราซิล บราซิล 1-0-2 3-9 -6
4 ประเทศนิวซีแลนด์ นิวซีแลนด์ 0-0-3 1-11 -10

กลุ่มเอช

[แก้]
ตำแหน่ง ทีม สถิติ (W-T-L) สถิติรวม ต่าง คุณสมบัติ
1 สหราชอาณาจักร สหราชอาณาจักร 3-0-0 12-0 +12 ผ่านเข้ารอบตัดเชือก
2 ประเทศเยอรมนี เยอรมนี 2-0-1 7-6 +1
3 ประเทศอิสราเอล อิสราเอล 1-0-2 5-8 -3
4 ประเทศเบลเยียม เบลเยียม 0-0-3 1-11 -10

ระยะที่ 4 รอบตัดเชือก

[แก้]

รอบตัดเชือกเซี่ยงไฮ้

[แก้]
แมตช์ 1
อันดับ ทีม ผสม ควบคุม จู่โจม คุ้มกัน ควบคุม จำนวนชนะ คุณสมบัติ
1 ประเทศจีน จีน 4 2 2 3 ผ่านเข้ารอบ
2 ประเทศไทย ไทย 3 1 1 0
แมตช์ 2
อันดับ ทีม ผสม ควบคุม จู่โจม คุ้มกัน ควบคุม จำนวนชนะ คุณสมบัติ
1 ประเทศฝรั่งเศส ฝรั่งเศส 1 2 3 3 ผ่านเข้ารอบ
2 ประเทศนอร์เวย์ นอร์เวย์ 0 0 2 0
แหล่งข้อมูล : ผลการแข่งขัน[6]

รอบตัดเชือกซิดนีย์

[แก้]
แมตช์ 1
อันดับ ทีม ผสม ควบคุม จู่โจม คุ้มกัน ควบคุม จำนวนชนะ คุณสมบัติ
1 ประเทศสวีเดน สวีเดน 3 2 3 3 ผ่านเข้ารอบ
2 ประเทศสเปน สเปน 2 1 2 0
แมตช์ 2
อันดับ ทีม ผสม ควบคุม จู่โจม คุ้มกัน ควบคุม จำนวนชนะ คุณสมบัติ
1 ประเทศออสเตรเลีย ออสเตรเลีย 2 1 2 3 2 3 ผ่านเข้ารอบ
2 ประเทศญี่ปุ่น ญี่ปุ่น 1 2 1 4 0 2
แหล่งข้อมูล : ผลการแข่งขัน[6]

รอบตัดเชือกคาโตวีตเซ

[แก้]
แมตช์ 1
อันดับ ทีม ผสม ควบคุม จู่โจม คุ้มกัน ควบคุม จำนวนชนะ คุณสมบัติ
1 ประเทศเกาหลีใต้ เกาหลีใต้ 1 2 2 3 ผ่านเข้ารอบ
2 ประเทศรัสเซีย รัสเซีย 0 0 1 0
แมตช์ 2
อันดับ ทีม ผสม ควบคุม จู่โจม คุ้มกัน ควบคุม จำนวนชนะ คุณสมบัติ
1 ประเทศแคนาดา แคนาดา 2 2 2 3 ผ่านเข้ารอบ
2 ประเทศเนเธอร์แลนด์ เนเธอร์แลนด์ 1 1 1 0
แหล่งข้อมูล : ผลการแข่งขัน[6]

รอบตัดเชือกแซนตามอนิกา

[แก้]
แมตช์ 1
อันดับ ทีม ผสม ควบคุม จู่โจม คุ้มกัน ควบคุม จำนวนชนะ คุณสมบัติ
1 สหรัฐอเมริกา สหรัฐอเมริกา 3 2 2 3 ผ่านเข้ารอบ
2 ประเทศเยอรมนี เยอรมนี 0 1 1 0
แมตช์ 2
อันดับ ทีม ผสม ควบคุม จู่โจม คุ้มกัน ควบคุม จำนวนชนะ คุณสมบัติ
1 สหราชอาณาจักร สหราชอาณาจักร 3 2 3 3 ผ่านเข้ารอบ
2 จีนไทเป จีนไทเป 2 0 2 0
แหล่งข้อมูล : ผลการแข่งขัน[6]

รอบเพลย์ออฟ

[แก้]

รอบก่อนชิงชนะเลิศ

[แก้]
3 พฤศจิกายน 2560
สหราชอาณาจักร สหราชอาณาจักร 0—3 ประเทศสวีเดน สวีเดน
แคนาดา ประเทศแคนาดา 3—2 ประเทศออสเตรเลีย ออสเตรเลีย
จีน ประเทศจีน 1—3 ประเทศฝรั่งเศส ฝรั่งเศส
เกาหลีใต้ ประเทศเกาหลีใต้ 3—1 สหรัฐอเมริกา สหรัฐอเมริกา
รอบก่อนชิงชนะเลิศ 1
ทีม ควบคุม ผสม จู่โจม คุ้มกัน ควบคุม จำนวนชนะ คุณสมบัติ
Oasis Numbani Volskaya Industries
สหราชอาณาจักร สหราชอาณาจักร 0 2 1 0
ประเทศสวีเดน สวีเดน 2 3 2 3 ผ่านเข้ารอบ
รอบก่อนชิงชนะเลิศ 2
ทีม ควบคุม ผสม จู่โจม คุ้มกัน ควบคุม จำนวนชนะ คุณสมบัติ
Oasis King's Row Hanamura Junkertown Nepal
ประเทศแคนาดา แคนาดา 1 3 4 3 2 3 ผ่านเข้ารอบ
ประเทศออสเตรเลีย ออสเตรเลีย 2 4 3 2 0 2
รอบก่อนชิงชนะเลิศ 3
ทีม ควบคุม ผสม จู่โจม คุ้มกัน ควบคุม จำนวนชนะ คุณสมบัติ
Nepal Numbani Hanamura Junkertown
ประเทศจีน จีน 2 3 1 5 1
ประเทศฝรั่งเศส ฝรั่งเศส 1 4 2 6 3 ผ่านเข้ารอบ
รอบก่อนชิงชนะเลิศ 4
ทีม ควบคุม ผสม จู่โจม คุ้มกัน ควบคุม จำนวนชนะ คุณสมบัติ
Nepal Eichenwalde Hanamura WP : Gibraltar Oasis
ประเทศเกาหลีใต้ เกาหลีใต้ 1 3 4 2 2 3 ผ่านเข้ารอบ
สหรัฐอเมริกา สหรัฐอเมริกา 2 2 4 1 0 1
แหล่งข้อมูล : ผลการแข่งขัน[10]

รอบรองชนะเลิศ

[แก้]
4 พฤศจิกายน 2550
ประเทศสวีเดน สวีเดน 2—3 ประเทศแคนาดา แคนาดา
ประเทศฝรั่งเศส ฝรั่งเศส 1—3 ประเทศเกาหลีใต้ เกาหลีใต้
รอบรองชนะเลิศ 1
ทีม ควบคุม ผสม จู่โจม คุ้มกัน ควบคุม จำนวนชนะ คุณสมบัติ
Napal King's Row Hanamura WP : Gibraltar Oasis
ประเทศสวีเดน สวีเดน 0 3 2 2 1 2 ผ่านเข้ารอบชิงอันดับสาม
ประเทศแคนาดา แคนาดา 2 1 1 3 2 3 ผ่านเข้ารอบชิงชนะเลิศ
รอบรองชนะเลิศ 2
ทีม ควบคุม ผสม จู่โจม คุ้มกัน ควบคุม จำนวนชนะ คุณสมบัติ
Oasis Numbani Hanamura WP : Gibraltar
ประเทศฝรั่งเศส ฝรั่งเศส 1 3 1 2 1 ผ่านเข้ารอบชิงอันดับสาม
ประเทศเกาหลีใต้ เกาหลีใต้ 2 4 0 3 3 ผ่านเข้ารอบชิงชนะเลิศ
แหล่งข้อมูล : [11][10]

รอบชิงอันดับสาม

[แก้]
4 พฤศจิกายน 2560
ประเทศสวีเดน สวีเดน 3—1 ประเทศฝรั่งเศส ฝรั่งเศส
รอบชิงอันดับสาม
ทีม ควบคุม ผสม จู่โจม คุ้มกัน ควบคุม จำนวนชนะ ผล
Nepal King's Row Hanamura WP : Gibraltar Oasis
ประเทศสวีเดน สวีเดน 0 4 2 1 2 3 อันดับ 3
ประเทศฝรั่งเศส ฝรั่งเศส 2 3 2 0 1 1 อันดับ 4
แหล่งข้อมูล : [12][10]

รอบชิงชนะเลิศ

[แก้]
4 พฤศจิกายน 2560
ประเทศแคนาดา แคนาดา 1—4 ประเทศเกาหลีใต้ เกาหลีใต้
รอบชิงชนะเลิศ
ทีม ควบคุม ผสม จู่โจม คุ้มกัน ผสม จู่โจม คุ้มกัน จำนวนชนะ ผล
Oasis King’s Row Hanamura Junkertown Numbani
ประเทศเกาหลีใต้ เกาหลีใต้ 2 2 5 2 5 4 ชนะเลิศ
ประเทศแคนาดา แคนาดา 1 1 4 3 4 1 รองอันดับ 1
แหล่งข้อมูล : [13][10]

แผนผัง

[แก้]
 
Round of 16รอบ 8 ทีมรอบรองชนะเลิศรอบชิงชนะเลิศ
 
              
 
 
 
 
สหราชอาณาจักร สหราชอาณาจักร 3
 
 
 
จีนไทเป จีนไทเป 0
 
สหราชอาณาจักร สหราชอาณาจักร 0
 
 
 
ประเทศสวีเดน สวีเดน 3
 
ประเทศสวีเดน สวีเดน 3
 
 
 
ประเทศสเปน สเปน 0
 
ประเทศสวีเดน สวีเดน 2
 
 
 
ประเทศแคนาดา แคนาดา 3
 
ประเทศแคนาดา แคนาดา 3
 
 
 
ประเทศเนเธอร์แลนด์ เนเธอร์แลนด์ 0
 
ประเทศแคนาดา แคนาดา 3
 
 
 
ประเทศออสเตรเลีย ออสเตรเลีย 2
 
ประเทศญี่ปุ่น ญี่ปุ่น 2
 
 
 
ประเทศออสเตรเลีย ออสเตรเลีย 3
 
ประเทศแคนาดา แคนาดา 1
 
 
 
ประเทศเกาหลีใต้ เกาหลีใต้ 4
 
ประเทศจีน จีน 3
 
 
 
ประเทศไทย ไทย 0
 
ประเทศจีน จีน 1
 
 
 
ประเทศฝรั่งเศส ฝรั่งเศส 3
 
ประเทศฝรั่งเศส ฝรั่งเศส 3
 
 
 
ประเทศนอร์เวย์ นอร์เวย์ 0
 
ประเทศฝรั่งเศส ฝรั่งเศส 1
 
 
 
ประเทศเกาหลีใต้ เกาหลีใต้ 3 รอบชิงอันดับที่สาม
 
ประเทศเกาหลีใต้ เกาหลีใต้ 3
 
  
 
ประเทศรัสเซีย รัสเซีย 0
 
ประเทศเกาหลีใต้ เกาหลีใต้ 3 ประเทศสวีเดน สวีเดน 3
 
 
 
สหรัฐอเมริกา สหรัฐอเมริกา 1 ประเทศฝรั่งเศส ฝรั่งเศส 1
 
สหรัฐอเมริกา สหรัฐอเมริกา 3
 
 
ประเทศเยอรมนี เยอรมนี 0
 

อันดับการแข่งขัน

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. Howell, Leo. "Overwatch World Cup 2017 announced". ESPN. สืบค้นเมื่อ 11 April 2017.
  2. 2.0 2.1 2.2 2.3 "World Cup 2017". worldcup.playoverwatch.com (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). สืบค้นเมื่อ 2017-04-01.
  3. "Overwatch World Cup 2017 - National Committees - Liquipedia Overwatch Wiki". wiki.teamliquid.net (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2017-05-11.
  4. 4.0 4.1 4.2 4.3 "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-07-16. สืบค้นเมื่อ 2017-07-14.
  5. "SHANGHAI GROUP STAGE: OFFICIAL PREVIEW". บลิซซาร์ดเอ็นเตอร์เทนเมนต์. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-07-18. สืบค้นเมื่อ 2017-07-18.
  6. 6.0 6.1 6.2 6.3 6.4 6.5 6.6 6.7 "Phase 3 Group State : Top 32 Showdown and Top 16 Showdown". บลิซซาร์ดเอ็นเตอร์เทนเมนต์. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-08-14. สืบค้นเมื่อ 2017-08-14.
  7. "SYDNEY GROUP STAGE: OFFICIAL PREVIEW". บลิซซาร์ดเอ็นเตอร์เทนเมนต์. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-07-18. สืบค้นเมื่อ 2017-07-18.
  8. "KATOWICE GROUP STAGE: OFFICIAL PREVIEW". บลิซซาร์ดเอ็นเตอร์เทนเมนต์. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-08-02. สืบค้นเมื่อ 2017-08-02.
  9. "LOS ANGELES GROUP STAGE: OFFICIAL PREVIEW". บลิซซาร์ดเอ็นเตอร์เทนเมนต์. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-08-08. สืบค้นเมื่อ 2017-08-08.
  10. 10.0 10.1 10.2 10.3 "Top 8 Standings". บลิซซาร์ดเอ็นเตอร์เทนเมนต์. สืบค้นเมื่อ 2018-01-20.
  11. ผลการแข่งขัน
  12. ผลการแข่งขัน
  13. ผลการแข่งขัน

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]