ข้ามไปเนื้อหา

โรคกาฬม่วง

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
โรคกาฬม่วง
จุดเลือดออกและจ้ำเลือดที่ขา อันเกิดจากหลอดเลือดอักเสบเนื่องจากยา
สาขาวิชาตัจวิทยา, โลหิตวิทยา

โรคกาฬม่วง หรือ จ้ำเลือด (อังกฤษ: purpura) เป็นจุดสีแดงหรือม่วงบนผิวหนัง เกิดได้จากหลายสาเหตุ เช่น เลือดออกใต้ผิวหนัง ความผิดปกติของเกล็ดเลือด หลอดเลือดหรือการจับลิ่มของเลือด และสาเหตุอื่น ๆ[1] จ้ำเลือดมีขนาดระหว่าง 3–10 มิลลิเมตร[2] ขณะที่ภาวะคล้ายกันอย่างจุดเลือดออกมีขนาดเล็กกว่า 3 มิลลิเมตร และเลือดออกใต้ผิวมีขนาดใหญ่กว่า 1 เซนติเมตร[3] จ้ำเลือดตรงกับคำในภาษาอังกฤษคือ purpura ซึ่งมีรากศัพท์มาจากภาษาละตินที่แปลว่า สีม่วง[4]

จ้ำเลือดเป็นอาการแสดงถึงความผิดปกติหลายอย่าง เช่น

อ้างอิง

[แก้]
  1. "UCSF Purpura Module" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2013-10-02.
  2. McKenzie, Shirlyn B.; Williams, Joanne Lynne (2014). Landis-Piwowar, Kristin (บ.ก.). Clinical Laboratory Hematology (3rd ed.). Boston: Pearson Education. p. 665. ISBN 978-0133076011. OCLC 878098857.
  3. Kumar, Vinay; Abbas, Abul K.; Aster, Jon C., บ.ก. (2017-03-28). Robbins basic pathology. Perkins, James A. (Illustrated). (10th ed.). Philadelphia, Pennsylvania: Elsevier. p. 101. ISBN 9780323353175. OCLC 960844656.
  4. "Definition of Purpura". Merriam-Webster. สืบค้นเมื่อ May 1, 2020.
  5. thrombocytopenic purpura ใน พจนานุกรมศัพท์การแพทย์ดอร์แลนด์
  6. Rafei, Hind; Yunus, Raza; Nassereddine, Samah (May 1, 2017). "Post-Transfusion Purpura: A Case Report of an Underdiagnosed Phenomenon". Cureus. 9 (5). doi:10.7759/cureus.1207. สืบค้นเมื่อ May 1, 2020.
  7. Cotran, Ramzi S.; Kumar, Vinay; Fausto, Nelson; Nelso Fausto; Robbins, Stanley L.; Abbas, Abul K. (2005). Robbins and Cotran pathologic basis of disease. St. Louis, Mo: Elsevier Saunders. p. 650. ISBN 978-0-7216-0187-8.
  8. Agarwal, Mukul P.; Sharma, Vishal (January 12, 2010). "Purpura fulminans caused by meningococcemia". Canadian Medical Association Journal. 182 (1). doi:10.1503/cmaj.090103. สืบค้นเมื่อ May 1, 2020.


การจำแนกโรค
ทรัพยากรภายนอก