โปรโพฟอล
บทความนี้อาจต้องการตรวจสอบต้นฉบับ ในด้านไวยากรณ์ รูปแบบการเขียน การเรียบเรียง คุณภาพ หรือการสะกด คุณสามารถช่วยพัฒนาบทความได้ |
ข้อมูลทางคลินิก | |
---|---|
ระดับความเสี่ยงต่อทารกในครรภ์ |
|
ช่องทางการรับยา | การฉีดเข้าหลอดเลือดดำ |
รหัส ATC | |
กฏหมาย | |
สถานะตามกฏหมาย |
|
ข้อมูลเภสัชจลนศาสตร์ | |
ชีวประสิทธิผล | NA |
การจับกับโปรตีน | 95 to 99% |
การเปลี่ยนแปลงยา | ตับ glucuronidation |
ครึ่งชีวิตทางชีวภาพ | 30 to 60 min |
การขับออก | ไต |
ตัวบ่งชี้ | |
| |
เลขทะเบียน CAS | |
PubChem CID | |
DrugBank | |
ChemSpider | |
UNII | |
KEGG | |
ChEBI | |
ChEMBL | |
ECHA InfoCard | 100.016.551 |
ข้อมูลทางกายภาพและเคมี | |
สูตร | C12H18O |
มวลต่อโมล | 178.271 g/mol g·mol−1 |
แบบจำลอง 3D (JSmol) | |
| |
| |
(verify) | |
โปรโพฟอล (Propofol) หรือชื่อทางการค้าคือ ดิปริแวน (Diprivan) เป็นสารออกฤทธิ์สั้นที่ส่งผลต่อการลดลงของระดับสติสัมปชัญญะ โดยให้ยาด้วยวิธีการฉีดเข้าเส้นเลือดดำ การใช้ทางการแพทย์ได้แก่ การนำสลบและรักษาระดับของการวางยาสลบ การระงับประสาทสำหรับผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ และการระงับประสาทเพื่อทำหัตถการ โปรโพฟอล ยังใช้กันทั่วไปในสัตวแพทยศาสตร์ โปรโพฟอล ได้รับการอนุมัติสำหรับการใช้งานในกว่า 50 ประเทศ โดยถูกผลิตในรูปแบบของยาสามัญ
ในทางเคมี โปรโพฟอล ไม่เกี่ยวข้องกับบาร์บิทูเรท และมีบทบาทส่วนใหญ่เข้ามาแทนที่ของ โซเดียมไธโอเพนเทล (เพนโทเธล) สำหรับการชักนำสลบ เนื่องจากการคืนฤทธิ์ของ โปรโพฟอล สามารถทำได้รวดเร็วและชัดเจนมากกว่าเมื่อเทียบกับ ไธโอเพนเทล
โปรโพฟอล ไม่จัดว่าเป็นยาแก้ปวดดังนั้น ออพไพออยด์ เช่น เฟนทาเนียล อาจถูกใช้ร่วมกับ โปรโพฟอล เพื่อบรรเทาความเจ็บปวด[1] โปรโพฟอล ได้รับการขนานนามว่า "น้ำนมความจำเสื่อม" (เล่นคำจากน้ำนมแมกนีเซีย) เพราะลักษณะที่ปรากฏเหมือนน้ำนมในการเตรียมยาฉีดเข้าเส้นเลือดดำ[2]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ Miner JR, Burton JH. Clinical practice advisory: Emergency department procedural sedation with propofol. Annals of Emergency Medicine. 2007 Aug;50(2):182–7, 187.e1. Epub 2007 Feb 23.
- ↑ Euliano TY, Gravenstein JS (2004). "A brief pharmacology related to anesthesia". Essential anesthesia: from science to practice. Cambridge, UK: Cambridge University Press. p. 173. ISBN 0-521-53600-6. สืบค้นเมื่อ 2009-06-02.