ข้ามไปเนื้อหา

โบสถ์นักบุญมีคาเอล (กลุฌ-นาปอกา)

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
โบาถ์นักบุญมีคาเอล
โบสถ์โรมันคาทอลิกนักบุญมีคาเอล
Biserica Romano-Catolică Sfântul Mihail
Biserica Sfântul Mihail (ในภาษาโรมาเนีย)
Szent Mihály-templom (ในภาษาฮังการี)
Klausenburger Michaelskirche (ในภาษาเยอรมัน)
แผนที่
46°46′12″N 23°35′22″E / 46.76996°N 23.58932°E / 46.76996; 23.58932
ที่ตั้งจัตุรัสอูนีรีย์ กลุฌ-นาปอกา ทรานซิลเวเนีย
ประเทศ โรมาเนีย
นิกายโรมันคาทอลิก
เว็บไซต์[1]
ประวัติ
สถานะเปิด
อุทิศแก่อัครทูตสวรรค์มีคาเอล
สถาปัตยกรรม
สถานะการใช้งานโบสถ์พาริช
การขึ้นทะเบียนMonument istoric
ขึ้นทะเบียนเมื่อ2010[1]
รูปแบบสถาปัตย์Gothic, Baroque and Gothic Revival (tower)[2]
งานฐานราก1316[3]
แล้วเสร็จ1487
โครงสร้าง
อาคารยาว70 เมตร
เนฟยาว50 เมตร[4]
เนฟกว้าง24 เมตร
จำนวนหอคอย1
ความสูงหอคอย80 m (รวมกางเขนสูง 4 เมตร)[5]
วัสดุหิน
การปกครอง
อัครมุขมณฑลอัครสังฆมณฑลโรมันคาทอลิกอัลบายูเลีย
ชื่อที่ขึ้นทะเบียนBiserica romano-catolică „Sf. Mihail”
ขึ้นเมื่อ2010
เลขอ้างอิงCJ-II-m-A-07469

โบสถ์นักบุญมีคาเอล (โรมาเนีย: Biserica Sfântul Mihail, ฮังการี: Szent Mihály-templom, เยอรมัน: Michaelskirche) เป็นโบสถ์โรมันคาทอลิกทรงกอธิก ตั้งอยู่ในใจกลางนครกลุฌ-นาปอกา ประเทศโรมาเนีย ถือเป็นโบสถ์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดเป็นอันดับสองของประเทศ รองจากโบสถ์ดำในบราชอฟ ช่องทางเดินกลางโบสถ์ (nave) ของโบสถ์มีความยาว 50 เมตร กว้าง 24 เมตร มุขโค้งด้านสกัด (apse) ขนาด 20×10 เมตร และหอคอยของโบสถ์สูง 76 เมตร (หรือ 80 เมตรรวมกางเขน) ถือว่าสูงที่สุดในภูมิภาคทรานซิลเวเนีย

เชื่อว่าโบสถ์หลังนี้สร้างขึ้นมาแทนที่โบสถ์น้อยนักบุญเจมส์ ภายใต้การสนับสนุนทุนโดยชาวเมืองและรายได้ของนคร เอกสารที่เกี่ยวข้องจากปี 1349 ถือเป็นเอกสารที่เก่าแก่ที่มุดเกี่ยวกับโบสถ์หลังนี้ ลงนามโดยอาร์กบิชอปแห่งอาวีญงและบิชอปอื่นอีก 15 คน การก่อสร้างแล้วเสร็จในปี 1442 และ 1447

อ้างอิง

[แก้]
  1. "Lista Monumentelor Istorice". National Heritage Institute. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-02-19.
  2. "10 lucruri pe care nu le ştiai despre Biserica "Sf. Mihail" din Cluj-Napoca". Buna Dimineata. 2 June 2015.
  3. "Biserica Romano-Catolica Sf.Mihail – Cluj-Napoca". Ghid Video Turistic. 14 October 2020.
  4. "Cluj-Napoca, Biserica Sf. Mihail". Welcome to Romania.
  5. József Lukács, Levente Várdai (2005). Povestea "oraşului-comoară": scurtă istorie a Clujului şi a monumentelor sale [The story of the "treasure city": a short history of Cluj and its monuments]. Biblioteca Apostrof. ISBN 9739279740.