ข้ามไปเนื้อหา

โนว์รูซ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
โนว์รูซ
Girl with torch on mountainside
Rock carving
Dancing children
Elegantly set dinner table
Drawing of Royal court celebration
บนลงล่างและซ้ายไปขวา:
จัดขึ้นโดย
ประเภทเทศกาลประจำชาติ, เทศกาลประจำกลุ่มชาติพันธุ์, เทศกาลนานาชาติ
ความสำคัญวันหยุดปีใหม่
วันที่วันที่ 19, 20 หรือ 21 มีนาคม
ความถี่ทุกปี
เนาโรซ, นอฟรุซ, เนาโรซ, โนว์รูซ, เนารูซ, เนาเริซ, โนรุซ, เนาโรซ, นัฟเริซ, เนฟรุซ, โนว์รุซ, นัฟโรซ *
  มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมโดยยูเนสโก
การแสดงดนตรีพื้นบ้านเพื่อฉลอง นัฟเริซ ในทาจิกิสถาน
ประเทศ อัฟกานิสถาน
 อาเซอร์ไบจาน
 อินเดีย
 อิหร่าน
 อิรัก
 คาซัคสถาน
 คีร์กีซสถาน
 ปากีสถาน
 ทาจิกิสถาน
 ตุรกี
 เติร์กเมนิสถาน
 อุซเบกิสถาน
ภูมิภาค **ยุโรปและอเมริกาเหนือ, เอเชียและแปซิฟิก
สาขาธรรมเนียมและการแสดงออกทางมุขปาฐะ, ศิลปะการแสดง, แนวปฏิบัติทางสังคม พิธีกรรม และงานเทศกาล, ความรู้และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับธรรมชาติและจักรวาล, งานช่างฝีมือดั้งเดิม
เกณฑ์พิจารณาR.1, R.2, R.3, R.4, R.5
อ้างอิง01161
ประวัติการขึ้นทะเบียน
ขึ้นทะเบียน2559 (คณะกรรมการสมัยที่ 4)
รายการตัวแทนมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของมนุษยชาติ
* ชื่อตามที่ได้ขึ้นทะเบียนในบัญชีมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมและการสงวนรักษาที่ดี
** ภูมิภาคที่จัดแบ่งโดยยูเนสโก

โนว์รูซ (เปอร์เซีย: نوروز, ออกเสียง: [nowˈɾuːz]; แปลว่า วันใหม่) เป็น วันขึ้นปีใหม่อิหร่าน[20][21] หรือ วันขึ้นปีใหม่เปอร์เซีย[22][23] ซึ่งกลุ่มชาติพันธุ์หลายกลุ่มทั่วโลกฉลองกัน ตรงกับวันที่ 19, 20 หรือ 21 มีนาคมตามปฏิทินกริกอเรียน

โนว์รูซมีต้นกำเนิดมาจากชาวอิหร่านกับศาสนาโซโรอัสเตอร์ อย่างไรก็ตาม มีการฉลองเทศกาลนี้มาเป็นเวลากว่า 3,000 ปีในสังคมต่าง ๆ ของเอเชียตะวันตก, เอเชียกลาง, คอเคซัส, แอ่งทะเลดำ, บอลข่าน และเอเชียใต้[24][25][26][27] โดยถือเป็นเทศกาลทางโลกสำหรับผู้ฉลองส่วนใหญ่ซึ่งมีความเชื่อต่างกัน แต่ยังคงเป็นเทศกาลศักดิ์สิทธิ์สำหรับผู้นับถือศาสนาโซโรอัสเตอร์[28] ผู้นับถือศาสนาบาไฮ[29] และสังคมมุสลิมบางส่วน[30][31]

โนว์รูซตรงกับช่วงวสันตวิษุวัตซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของฤดูใบไม้ผลิในซีกโลกเหนือ และเป็นวันแรกของเดือนแรก (แฟร์แวร์ดีน) ในปฏิทินอิหร่าน[32] การฉลองเทศกาลโนว์รูซเริ่มมีมาตั้งแต่การปฏิรูปปฏิทินอิหร่านในคริสต์ศตวรรษที่ 11 ส่วนสหประชาชาติได้รับรอง "วันโนว์รูซสากล" อย่างเป็นทางการผ่านข้อมติสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติที่ 64/253 ใน พ.ศ. 2553[33]

หมายเหตุ

[แก้]
  1. การต่อสู้ชั่วนิรันดร์ระหว่างวัวตัวผู้ซึ่งเป็นตัวแทนของดวงจันทร์ และสิงโตซึ่งเป็นตัวแทนของดวงอาทิตย์และฤดูใบไม้ผลิ

อ้างอิง

[แก้]
  1. "The World Headquarters of the Bektashi Order – Tirana, Albania". komunitetibektashi.org. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ August 18, 2011. สืบค้นเมื่อ April 25, 2012.
  2. "Albania 2010 Bank Holidays". Bank-holidays.com. สืบค้นเมื่อ April 6, 2010.
  3. "Nowruz conveys message of secularism, says Gowher Rizvi". United News of Bangladesh. April 6, 2018. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ March 31, 2019. สืบค้นเมื่อ March 19, 2019.
  4. "Xinjiang Uygurs celebrate Nowruz festival to welcome spring". Xinhuanet. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ March 12, 2017. สืบค้นเมื่อ March 20, 2017.
  5. "Nowruz Declared as National Holiday in Georgia". civil.ge. March 21, 2010. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ September 18, 2012. สืบค้นเมื่อ March 11, 2013.
  6. "Nowruz observed in Indian subcontinent". www.iranicaonline.org. สืบค้นเมื่อ December 29, 2013.
  7. "20 March 2012 United Nations Marking the Day of Nawroz". Ministry of Foreign Affairs (Iraq). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ May 13, 2013. สืบค้นเมื่อ April 18, 2012.
  8. https://www.youthkiawaaz.com/2019/03/celebrating-the-iranian-new-year-nowruz-alam-in-kashmir-2/
  9. 9.0 9.1 "Celebrating Nowruz in Central Asia". fravahr.org. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ May 23, 2007. สืบค้นเมื่อ March 23, 2007.
  10. Nowruz celebrations in the North Cyprus
  11. Nevruz kutlamaları Lefkoşa'da gerçekleştirildi.
  12. "Farsnews". Fars News. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ October 25, 2015. สืบค้นเมื่อ March 20, 2017.
  13. "Россия празднует Навруз [Russia celebrates Nowruz]". Golos Rossii (ภาษารัสเซีย). March 21, 2012. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-05-02. สืบค้นเมื่อ March 11, 2013.
  14. "Arabs, Kurds to Celebrate Nowruz as National Day". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ May 20, 2013. สืบค้นเมื่อ March 11, 2013.
  15. For Kurds, a day of bonfires, legends, and independence. Dan Murphy. March 23, 2004.
  16. "Tajikistan 2010 Bank Holidays". Bank-holidays.com. สืบค้นเมื่อ April 6, 2010.
  17. ANADOLU’DA NEVRUZ KUTLAMALARI ve EMİRDAĞ-KARACALAR ÖRNEĞİ Anadolu'da Nevruz Kutlamalari
  18. Emma Sinclair-Webb, Human Rights Watch, "Turkey, Closing ranks against accountability", Human Rights Watch, 2008. "The traditional Nowrouz/Nowrooz celebrations, mainly celebrated by the Kurdish population in the Kurdistan Region in Iraq, and other parts of Kurdistan in Turkey, Iran, Syria and Armenia and taking place around March 21"
  19. "General Information of Turkmenistan". sitara.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ September 6, 2012. สืบค้นเมื่อ December 26, 2012.
  20. "Culture of Iran: No-Rooz, The Iranian New Year at Present Times". www.iranchamber.com. สืบค้นเมื่อ February 1, 2016.
  21. Stausberg, Michael; Sohrab-Dinshaw Vevaina, Yuhan (2015). "The Iranian festivals: Nowruz and Mehregan". The Wiley-Blackwell Companion to Zoroastrianism. John Wiley & Sons. pp. 494–495. ISBN 978-1-118-78627-7.
  22. "NOWRUZ". Encyclopaedia Iranica. Nowruz, 'New Day', is a traditional ancient festival which celebrates the starts of the Persian New Year.
  23. Melton, J. Gordon (2011). Religious Celebrations: An Encyclopedia of Holidays, Festivals, Solemn Observances, and Spiritual Commemorations. [2 volumes]. ABC-CLIO. p. 620. ISBN 978-1-59884-206-7. Nowruz, an ancient spring festival of Persian origin (and the Zoroastrian New Year's day)...
  24. "General Assembly Recognizes 21 March as International Day of Nowruz, Also Changes to 23–24 March Dialogue on Financing for Development – Meetings Coverage and Press Releases". UN. สืบค้นเมื่อ March 20, 2017.
  25. Kenneth Katzman (2010). Iran: U. S. Concerns and Policy Responses. DIANE Publishing. ISBN 978-1-4379-1881-6. สืบค้นเมื่อ February 24, 2015.
  26. General Assembly Fifty-fifth session 94th plenary meeting Friday, 9 March 2001, 10 a.m. New York. United Nations General Assembly. March 9, 2001. สืบค้นเมื่อ April 6, 2010.
  27. J. Gordon Melton (September 13, 2011). Religious Celebrations: An Encyclopedia of Holidays, Festivals, Solemn Observances, and Spiritual Commemorations [2 volumes]: An Encyclopedia of Holidays, Festivals, Solemn Observances, and Spiritual Commemorations. ABC-CLIO. ISBN 978-1-59884-206-7. สืบค้นเมื่อ February 24, 2015.
  28. Azoulay, Vincent (July 1, 1999). Xenophon and His World: Papers from a Conference Held in Liverpool in July 1999. ISBN 978-3-515-08392-8. สืบค้นเมื่อ March 17, 2010.
  29. "Welcome to the Baháʼí New Year, Naw-Ruz!". BahaiTeachings.org (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). March 21, 2016. สืบค้นเมื่อ March 15, 2019.
  30. Isgandarova, Nazila (September 3, 2018). Muslim Women, Domestic Violence, and Psychotherapy: Theological and Clinical Issues (ภาษาอังกฤษ). Routledge. ISBN 978-0-429-89155-7.
  31. "Navroz". the.Ismaili (ภาษาอังกฤษ). March 21, 2018. สืบค้นเมื่อ March 14, 2019.
  32. "What Is Norooz? Greetings, History And Traditions To Celebrate The Persian New Year". International Business Times. สืบค้นเมื่อ February 1, 2016.
  33. "International Day of Nowruz". United Nations. February 18, 2010. สืบค้นเมื่อ February 26, 2020.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]