ข้ามไปเนื้อหา

โซยุซ 11

พิกัด: 47°21′23″N 70°07′16″E / 47.35639°N 70.12111°E / 47.35639; 70.12111
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
โซยุซ 11
ภาพเกี่ยวกับภารกิจโซยุซ 11 บนแสตมป์ที่ระลึกของสหภาพโซเวียต ค.ศ. 1971
ประเภทภารกิจต่อเชื่อมเข้ากับสถานีอวกาศซัลยุต 1
ผู้ดำเนินการโครงการอวกาศโซเวียต
COSPAR ID1971-053A
SATCAT no.05283แก้ไขบนวิกิสนเทศ
ระยะภารกิจ23 วัน 18 ชั่วโมง 21 นาที 43 วินาที
วงโคจรรอบโลก383
ข้อมูลยานอวกาศ
ยานอวกาศโซยุซ 7เค-ที หมายเลข 32[1]
ชนิดยานอวกาศโซยุซ 7เค-โอเคเอส
ผู้ผลิตโอเคบี-1
มวลขณะส่งยาน6,565 กิโลกรัม (14,473 ปอนด์)[2]
มวลหลังการลงจอด1,200 กิโลกรัม (2,600 ปอนด์)
บุคลากร
ผู้โดยสาร3
รายชื่อผู้โดยสาร
รหัสเรียกЯнтарь (ยันตาร์ – "อำพัน")
เริ่มต้นภารกิจ
วันที่ส่งขึ้น04:55:09, 6 มิถุนายน ค.ศ. 1971 (UTC) (1971-06-06T04:55:09Z)
จรวดนำส่งโซยุซ
ฐานส่งท่าอวกาศยานบัยโกเงอร์ ฐานส่งที่ 1/5[3]
สิ้นสุดภารกิจ
ลงจอด23:16:52, 29 มิถุนายน ค.ศ. 1971 (UTC) (1971-06-29T23:16:52Z)
พิกัดลงจอด90 กิโลเมตร (56 ไมล์) ทิศตะวันตกเฉียงใต้จากคาราจัล แคว้นคารากันดา สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตคาซัค สหภาพโซเวียต
(47°21′23″N 70°07′16″E / 47.35639°N 70.12111°E / 47.35639; 70.12111)
ลักษณะวงโคจร
ระบบอ้างอิงวงโคจรรอบโลก[4]
ระบบวงโคจรวงโคจรต่ำของโลก
ระยะใกล้สุด185 กิโลเมตร (100 ไมล์ทะเล; 115 ไมล์)
ระยะไกลสุด217 กิโลเมตร (117 ไมล์ทะเล; 135 ไมล์)
ความเอียง51.6°
คาบการโคจร88.3 นาที

จากซ้ายไปขวา: โดโบรวอลสกี, วอลคอฟ และปาซาเยฟ 

โซยุซ 11 (รัสเซีย: Союз 11) เป็นภารกิจการส่งยานอวกาศโซยุซไปที่สถานีอวกาศซัลยุซ 1 ซึ่งเป็นสถานีอวกาศแห่งแรกของโลก[5] โดยมีลูกเรือ 3 คนได้แก่ ยอร์กี โดโบรวอลสกี วลาดิสลาฟ วอลคอฟ และวิคตอร์ ปาซาเยฟ[6][7][8] ซึ่งมาถึงสถานีอวกาศเมื่อ 7 มิถุนายน ค.ศ. 1971 และออกจากสถานีอวกาศเมื่อ 29 มิถุนายนในปีเดียวกัน ภารกิจในครั้งนี้จบลงด้วยความสูญเสีย เนื่องจากแคปซูลอวกาศเกิดภาวะความดันลดลงระหว่างเตรียมการกลับเข้าสู่ชั้นบรรยากาศ ทำให้ลูกเรือทั้ง 3 คนเสียชีวิตในที่สุด[9] โดยลูกเรือทั้ง 3 คนนี้ถือเป็นมนุษย์เพียงกลุ่มเดียวที่เสียชีวิตในอวกาศ[10]

อ้างอิง

[แก้]
  1. "Soyuz-11 begins a fateful expedition to Salyut". 2021-06-30. สืบค้นเมื่อ 2021-07-10.
  2. "Display: Soyuz 11 1971-053A". NASA. 14 May 2020. สืบค้นเมื่อ 5 October 2020. บทความนี้รวมเอาเนื้อความจากแหล่งอ้างอิงนี้ ซึ่งเป็นสาธารณสมบัติ
  3. "Baikonur LC1". Encyclopedia Astronautica. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 15 April 2009. สืบค้นเมื่อ 4 March 2009.
  4. "Trajectory: Soyuz 11 1971-053A". NASA. 14 May 2020. สืบค้นเมื่อ 18 October 2020. บทความนี้รวมเอาเนื้อความจากแหล่งอ้างอิงนี้ ซึ่งเป็นสาธารณสมบัติ
  5. "Mir Hardware Heritage/Part 1 - Soyuz". en.wikisource.org.
  6. "Soyuz 11". Encyclopedia Astronautica. 2007. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 28 December 2016. สืบค้นเมื่อ 20 October 2007.
  7. Trivedi, Mamta (2001). "30 Years Ago: The World's First Space Station, which was Salyut 1". Space.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 6 June 2001. สืบค้นเมื่อ 20 October 2007.
  8. "After glory era, cash woes hobble Russian space program". CNN. 27 June 1997. สืบค้นเมื่อ 20 October 2007.
  9. "Triumph and Tragedy of Soyuz 11". Time. 12 July 1971. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 18 March 2008. สืบค้นเมื่อ 20 October 2007.
  10. "Space disasters and near misses". Channel 4. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 12 October 2008. สืบค้นเมื่อ 29 June 2011.