โซยุซ เอ็มเอส-01
หน้าตา
โซยุซ เอ็มเอส-01 | |
---|---|
จรวดโซยุซ เอ็มเอส-01 ขณะกำลังเทียบท่าของสถานีอวกาศนานาชาติ | |
ประเภทภารกิจ | โดยสารลูกเรือ สถานีอวกาศนานาชาติ |
ผู้ดำเนินการ | รอสคอสมอส |
COSPAR ID | 2016-044A |
SATCAT no. | 41639 |
ระยะภารกิจ | 115 วัน 2 ชั่วโมง 22 นาที |
ข้อมูลยานอวกาศ | |
ยานอวกาศ | Soyuz MS |
ชนิดยานอวกาศ | Soyuz-MS 11F732A48 |
ผู้ผลิต | RKK Energia |
มวลขณะส่งยาน | 7080 กิโลกรัม |
บุคลากร | |
ผู้โดยสาร | 3 |
รายชื่อผู้โดยสาร | อนาโตลี อวนิชิน ทาคุยะ โอนิชิ แคทลีน รูบินส์ |
รหัสเรียก | Irkut |
เริ่มต้นภารกิจ | |
วันที่ส่งขึ้น | 7 กรกฎาคม 2016, 01:36 UTC[1] |
จรวดนำส่ง | Soyuz-FG |
ฐานส่ง | บัยโกเงอร์ ลาน 31 |
ผู้ดำเนินงาน | Progress Rocket Space Centre |
สิ้นสุดภารกิจ | |
ลงจอด | 30 ตุลาคม 2016, 03:58 UTC [2] |
พิกัดลงจอด | ทุ่งหญ้าประเทศคาซักสถาน |
ลักษณะวงโคจร | |
ระบบอ้างอิง | วงโคจรค้างฟ้า |
ระบบวงโคจร | วงโคจรต่ำของโลก |
ความเอียง | 51.66° |
Docking with สถานีอวกาศนานาชาติ | |
Docking port | Rassvet nadir |
Docking date | 9 กรกฎาคม 2016, 04:12 UTC [3] |
Undocking date | 30 ตุลาคม 2016 00:35 UTC |
Time docked | 113 วัน |
(l-r) อวนิชิน, รูบินส์ and โอนิชิ โครงการโซยุซ (ภารกิจลูกเรือ) |
โซยุซ เอ็มเอส-01 เป็นโครงการอวกาศโซยุซที่เปิดตัวขึ้นในปี พ.ศ. 2559 เพื่อไปยังสถานีอวกาศนานาชาติ[4] เริ่มแรกมีการวางไว้จะเปิดตัวในเดือนมิถุนายน แต่ว่าได้เลื่อนไปเป็นวันที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2559[5] โดยเป็นการส่งลูกเรือสามคนจากโครงการเอ็กแพรนดิชัน 49 ไปสู่สถานีอวกาศนานาชาติ เอ็มเอส-01 เป็นโครงการอวกาศโซยุซครั้งที่ 130 และถือยังเป็นการเปิดโครงการใหม่ โซยุซ เอ็มเอส ประกอบไปด้วยลูกเรือผู้บัญชาการชาวรัสเซีย, วิศวกรชาวญี่ปุ่น และวิศวกรชาวอเมริกา
เมื่อวันที่ 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2559 ได้เลื่อนการปล่อยยานเนื่องจากว่ามีปัญหาในการเทียบท่ากับสถานีอวกาศนานาชาติ โดยเปลี่ยนเป็นเดือนกรกฎาคม ในปีเดียวกันแทน[6] ยานอวกาศเชื่อมต่อกับสถานีอวกาศนานาชาติอย่างถูกต้อง เมื่อวันที่ 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2559[3] และกลับมายังโลกเมื่อวันที่ 30 ตุลาคม พ.ศ. 2559[2]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ "Crew Launches for Two-Day Ride to Station". NASA. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-12-10. สืบค้นเมื่อ 8 July 2016. บทความนี้รวมเอาเนื้อความจากแหล่งอ้างอิงนี้ ซึ่งเป็นสาธารณสมบัติ
- ↑ 2.0 2.1 "Soyuz MS crew return". Roscosmos. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-05-06. สืบค้นเมื่อ 30 October 2016.
- ↑ 3.0 3.1 Garcia, Mark (9 July 2016). "Expedition 48-49 Crew Docks to New Home in Space". blogs.nasa.gov/spacestation. บทความนี้รวมเอาเนื้อความจากแหล่งอ้างอิงนี้ ซึ่งเป็นสาธารณสมบัติ
- ↑ "Russian Launch Manifest". สืบค้นเมื่อ 13 March 2014.
- ↑ "First flight of upgraded Russian Soyuz MS spacecraft lifts off for space station".
- ↑ "Launch of new series manned spacecraft rescheduled due to risk of docking disruption". TASS news agency. 6 June 2016. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-10-09. สืบค้นเมื่อ 2018-11-13.