ข้ามไปเนื้อหา

โครเมียม

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก โครเมี่ยม)
[โครเมียม]
วาเนเดียม ← → แมงกานีส
-

Cr

Mo
ไฮโดรเจน (อโลหะวาเลนซ์เดียว)
ฮีเลียม (แก๊สมีตระกูล)
ลิเทียม (โลหะแอลคาไล)
เบริลเลียม (โลหะแอลคาไลน์เอิร์ท)
โบรอน (ธาตุกึ่งโลหะ)
คาร์บอน (อโลหะหลายวาเลนซ์)
ไนโตรเจน (อโลหะวาเลนซ์เดียว)
ออกซิเจน (อโลหะวาเลนซ์เดียว)
ฟลูออรีน (อโลหะวาเลนซ์เดียว)
นีออน (แก๊สมีตระกูล)
โซเดียม (โลหะแอลคาไล)
แมกนีเซียม (โลหะแอลคาไลน์เอิร์ท)
อะลูมิเนียม (โลหะหลังทรานซิชัน)
ซิลิกอน (ธาตุกึ่งโลหะ)
ฟอสฟอรัส (อโลหะหลายวาเลนซ์)
กำมะถัน (อโลหะหลายวาเลนซ์)
คลอรีน (อโลหะวาเลนซ์เดียว)
อาร์กอน (แก๊สมีตระกูล)
โพแทสเซียม (โลหะแอลคาไล)
แคลเซียม (โลหะแอลคาไลน์เอิร์ท)
สแกนเดียม (โลหะทรานซิชัน)
ไทเทเนียม (โลหะทรานซิชัน)
วาเนเดียม (โลหะทรานซิชัน)
โครเมียม (โลหะทรานซิชัน)
แมงกานีส (โลหะทรานซิชัน)
เหล็ก (โลหะทรานซิชัน)
โคบอลต์ (โลหะทรานซิชัน)
นิกเกิล (โลหะทรานซิชัน)
ทองแดง (โลหะทรานซิชัน)
สังกะสี (โลหะทรานซิชัน)
แกลเลียม (โลหะหลังทรานซิชัน)
เจอร์เมเนียม (ธาตุกึ่งโลหะ)
สารหนู (ธาตุกึ่งโลหะ)
ซีลีเนียม (อโลหะหลายวาเลนซ์)
โบรมีน (อโลหะวาเลนซ์เดียว)
คริปทอน (แก๊สมีตระกูล)
รูบิเดียม (โลหะแอลคาไล)
สตรอนเชียม (โลหะแอลคาไลน์เอิร์ท)
อิตเทรียม (โลหะทรานซิชัน)
เซอร์โคเนียม (โลหะทรานซิชัน)
ไนโอเบียม (โลหะทรานซิชัน)
โมลิบดีนัม (โลหะทรานซิชัน)
เทคนีเชียม (โลหะทรานซิชัน)
รูทีเนียม (โลหะทรานซิชัน)
โรเดียม (โลหะทรานซิชัน)
แพลเลเดียม (โลหะทรานซิชัน)
เงิน (โลหะทรานซิชัน)
แคดเมียม (โลหะทรานซิชัน)
อินเดียม (โลหะหลังทรานซิชัน)
ดีบุก (โลหะหลังทรานซิชัน)
พลวง (ธาตุกึ่งโลหะ)
เทลลูเรียม (ธาตุกึ่งโลหะ)
ไอโอดีน (อโลหะวาเลนซ์เดียว)
ซีนอน (แก๊สมีตระกูล)
ซีเซียม (โลหะแอลคาไล)
แบเรียม (โลหะแอลคาไลน์เอิร์ท)
แลนทานัม (แลนทานอยด์)
ซีเรียม (แลนทานอยด์)
เพรซีโอดิเมียม (แลนทานอยด์)
นีโอดิเมียม (แลนทานอยด์)
โพรมีเทียม (แลนทานอยด์)
ซาแมเรียม (แลนทานอยด์)
ยูโรเพียม (แลนทานอยด์)
แกโดลิเนียม (แลนทานอยด์)
เทอร์เบียม (แลนทานอยด์)
ดิสโพรเซียม (แลนทานอยด์)
โฮลเมียม (แลนทานอยด์)
เออร์เบียม (แลนทานอยด์)
ทูเลียม (แลนทานอยด์)
อิตเทอร์เบียม (แลนทานอยด์)
ลูทีเทียม (แลนทานอยด์)
ฮาฟเนียม (โลหะทรานซิชัน)
แทนทาลัม (โลหะทรานซิชัน)
ทังสเตน (โลหะทรานซิชัน)
รีเนียม (โลหะทรานซิชัน)
ออสเมียม (โลหะทรานซิชัน)
อิริเดียม (โลหะทรานซิชัน)
แพลตทินัม (โลหะทรานซิชัน)
ทองคำ (โลหะทรานซิชัน)
ปรอท (โลหะทรานซิชัน)
แทลเลียม (โลหะหลังทรานซิชัน)
ตะกั่ว (โลหะหลังทรานซิชัน)
บิสมัท (โลหะหลังทรานซิชัน)
พอโลเนียม (โลหะหลังทรานซิชัน)
แอสทาทีน (ธาตุกึ่งโลหะ)
เรดอน (แก๊สมีตระกูล)
แฟรนเซียม (โลหะแอลคาไล)
เรเดียม (โลหะแอลคาไลน์เอิร์ท)
แอกทิเนียม (แอกทินอยด์)
ทอเรียม (แอกทินอยด์)
โพรแทกทิเนียม (แอกทินอยด์)
ยูเรเนียม (แอกทินอยด์)
เนปทูเนียม (แอกทินอยด์)
พลูโทเนียม (แอกทินอยด์)
อะเมริเซียม (แอกทินอยด์)
คูเรียม (แอกทินอยด์)
เบอร์คีเลียม (แอกทินอยด์)
แคลิฟอร์เนียม (แอกทินอยด์)
ไอน์สไตเนียม (แอกทินอยด์)
เฟอร์เมียม (แอกทินอยด์)
เมนเดลีเวียม (แอกทินอยด์)
โนเบเลียม (แอกทินอยด์)
ลอว์เรนเซียม (แอกทินอยด์)
รัทเทอร์ฟอร์เดียม (โลหะทรานซิชัน)
ดุบเนียม (โลหะทรานซิชัน)
ซีบอร์เกียม (โลหะทรานซิชัน)
โบห์เรียม (โลหะทรานซิชัน)
ฮัสเซียม (โลหะทรานซิชัน)
ไมต์เนเรียม (ไม่มีกลุ่มตามสมบัติทางเคมี)
ดาร์มสตัดเทียม (ไม่มีกลุ่มตามสมบัติทางเคมี)
เรินต์เกเนียม (ไม่มีกลุ่มตามสมบัติทางเคมี)
โคเปอร์นิเซียม (โลหะทรานซิชัน)
นิโฮเนียม (ไม่มีกลุ่มตามสมบัติทางเคมี)
ฟลีโรเวียม (โลหะหลังทรานซิชัน)
มอสโกเวียม (ไม่มีกลุ่มตามสมบัติทางเคมี)
ลิเวอร์มอเรียม (ไม่มีกลุ่มตามสมบัติทางเคมี)
เทนเนสซีน (ไม่มีกลุ่มตามสมบัติทางเคมี)
ออกาเนสซอน (ไม่มีกลุ่มตามสมบัติทางเคมี)
อูนอูนเอนเนียม (โลหะแอลคาไล (ทำนายไว้))
อูนไบนิลเลียม (โลหะแอลคาไลน์เอิร์ท (ทำนายไว้))
อูนควอดอันเนียม (ซูเปอร์แอกทิไนด์ (ทำนายไว้))
อูนควอดเบียม (ซูเปอร์แอกทิไนด์ (ทำนายไว้))
อูนควอดเทรียม (ซูเปอร์แอกทิไนด์ (ทำนายไว้))
อูนควอดควอเดียม (ซูเปอร์แอกทิไนด์ (ทำนายไว้))
อูนควอดเพนเทียม (ซูเปอร์แอกทิไนด์ (ทำนายไว้))
อูนควอดเฮกเซียม (ซูเปอร์แอกทิไนด์ (ทำนายไว้))
อูนควอดเซปเทียม (ซูเปอร์แอกทิไนด์ (ทำนายไว้))
อูนควอดออกเทียม (ซูเปอร์แอกทิไนด์ (ทำนายไว้))
อูนควอดเอนเนียม (ซูเปอร์แอกทิไนด์ (ทำนายไว้))
อูนเพนท์นิลเลียม (ซูเปอร์แอกทิไนด์ (ทำนายไว้))
อูนเพนท์อันเนียม (ซูเปอร์แอกทิไนด์ (ทำนายไว้))
อูนเพนท์เบียม (ซูเปอร์แอกทิไนด์ (ทำนายไว้))
อูนเพนท์เทรียม (ซูเปอร์แอกทิไนด์ (ทำนายไว้))
อูนเพนท์ควอเดียม (ซูเปอร์แอกทิไนด์ (ทำนายไว้))
อูนเพนท์เพนเทียม (ซูเปอร์แอกทิไนด์ (ทำนายไว้))
อูนเพนท์เฮกเซียม (โลหะทรานซิชัน (ทำนายไว้))
อูนเพนท์เซปเทียม (โลหะทรานซิชัน (ทำนายไว้))
อูนเพนท์ออกเทียม (โลหะทรานซิชัน (ทำนายไว้))
อูนเพนท์เอนเนียม (โลหะทรานซิชัน (ทำนายไว้))
อูนเฮกซ์นิลเลียม (โลหะทรานซิชัน (ทำนายไว้))
อูนเฮกซ์อันเนียม (โลหะทรานซิชัน (ทำนายไว้))
อูนเฮกซ์เบียม (โลหะทรานซิชัน (ทำนายไว้))
อูนเฮกซ์เทรียม (โลหะทรานซิชัน (ทำนายไว้))
อูนเฮกซ์ควอเดียม (โลหะทรานซิชัน (ทำนายไว้))
อูนเฮกซ์เพนเทียม (โลหะแอลคาไล (ทำนายไว้))
อูนเฮกซ์เฮกเซียม (โลหะแอลคาไลน์เอิร์ท (ทำนายไว้))
อูนเฮกซ์เซปเทียม (โลหะหลังทรานซิชัน (ทำนายไว้))
อูนเฮกซ์ออกเทียม (โลหะหลังทรานซิชัน (ทำนายไว้))
อูนเฮกซ์เอนเนียม (โลหะหลังทรานซิชัน (ทำนายไว้))
อูนเซปท์นิลเลียม (โลหะหลังทรานซิชัน (ทำนายไว้))
อูนเซปท์อันเนียม (อโลหะวาเลนซ์เดียว (ทำนายไว้))
อูนเซปท์เบียม (แก๊สมีตระกูล (ทำนายไว้))
อูนไบอันเนียม (ซูเปอร์แอกทิไนด์ (ทำนายไว้))
อูนไบเบียม (ซูเปอร์แอกทิไนด์ (ทำนายไว้))
อูนไบเทรียม (ซูเปอร์แอกทิไนด์ (ทำนายไว้))
อูนไบควอเดียม (ซูเปอร์แอกทิไนด์ (ทำนายไว้))
อูนไบเพนเทียม (ซูเปอร์แอกทิไนด์ (ทำนายไว้))
อูนไบเฮกเซียม (ซูเปอร์แอกทิไนด์ (ทำนายไว้))
อูนไบเซปเทียม (ซูเปอร์แอกทิไนด์ (ทำนายไว้))
อูนไบออกเทียม (ซูเปอร์แอกทิไนด์ (ทำนายไว้))
อูนไบเอนเนียม (ซูเปอร์แอกทิไนด์ (ทำนายไว้))
อูนไทรนิลเลียม (ซูเปอร์แอกทิไนด์ (ทำนายไว้))
อูนไทรอันเนียม (ซูเปอร์แอกทิไนด์ (ทำนายไว้))
อูนไทรเบียม (ซูเปอร์แอกทิไนด์ (ทำนายไว้))
อูนไทรเทรียม (ซูเปอร์แอกทิไนด์ (ทำนายไว้))
อูนไทรควอเดียม (ซูเปอร์แอกทิไนด์ (ทำนายไว้))
อูนไทรเพนเทียม (ซูเปอร์แอกทิไนด์ (ทำนายไว้))
อูนไทรเฮกเซียม (ซูเปอร์แอกทิไนด์ (ทำนายไว้))
อูนไทรเซปเทียม (ซูเปอร์แอกทิไนด์ (ทำนายไว้))
อูนไทรออกเทียม (ซูเปอร์แอกทิไนด์ (ทำนายไว้))
อูนไทรเอนเนียม (ซูเปอร์แอกทิไนด์ (ทำนายไว้))
อูนควอดนิลเลียม (ซูเปอร์แอกทิไนด์ (ทำนายไว้))
อูนเซปท์เทรียม (เอคา-ซูเปอร์แอกทิไนด์ (ทำนายไว้))
อูนเซปท์ควอเดียม (เอคา-ซูเปอร์แอกทิไนด์ (ทำนายไว้))
อูนเซปท์เพนเทียม (เอคา-ซูเปอร์แอกทิไนด์ (ทำนายไว้))
อูนเซปท์เฮกเซียม (เอคา-ซูเปอร์แอกทิไนด์ (ทำนายไว้))
อูนเซปท์เซปเทียม (เอคา-ซูเปอร์แอกทิไนด์ (ทำนายไว้))
อูนเซปท์ออกเทียม (เอคา-ซูเปอร์แอกทิไนด์ (ทำนายไว้))
อูนเซปท์เอนเนียม (เอคา-ซูเปอร์แอกทิไนด์ (ทำนายไว้))
อูนออกท์นิลเลียม (เอคา-ซูเปอร์แอกทิไนด์ (ทำนายไว้))
อูนออกท์อันเนียม (เอคา-ซูเปอร์แอกทิไนด์ (ทำนายไว้))
อูนออกท์เบียม (เอคา-ซูเปอร์แอกทิไนด์ (ทำนายไว้))
อูนออกท์เทรียม (เอคา-ซูเปอร์แอกทิไนด์ (ทำนายไว้))
อูนออกท์ควอเดียม (เอคา-ซูเปอร์แอกทิไนด์ (ทำนายไว้))
ทั่วไป
ชื่อ, สัญลักษณ์, เลขอะตอม [โครเมียม], Cr, 24
อนุกรมเคมี โลหะทรานซิชัน
หมู่, คาบ, บล็อก 6, 4, d
ลักษณะ สีเงินมันวาว
มวลอะตอม 51.9961 (6) กรัม/โมล
การจัดเรียงอิเล็กตรอน [Ar] 3d5 4s1
อิเล็กตรอนต่อระดับพลังงาน 2, 8, 13, 1
คุณสมบัติทางกายภาพ
สถานะ ของแข็ง
ความหนาแน่น (ใกล้ r.t.) 7.15 ก./ซม.³
ความหนาแน่นของของเหลวที่m.p. 6.3 ก./ซม.³
จุดหลอมเหลว 2180 K
(1907 °C)
จุดเดือด 2944 K(2671 °C)
ความร้อนของการหลอมเหลว 21.0 กิโลจูล/โมล
ความร้อนของการกลายเป็นไอ 339.5 กิโลจูล/โมล
ความร้อนจำเพาะ (25 °C) 23.35 J/(mol·K)
ความดันไอ
P/Pa 1 10 100 1 k 10 k 100 k
ที่ T K 1656 1807 1991 2223 2530 2942
คุณสมบัติของอะตอม
โครงสร้างผลึก cubic body centered
สถานะออกซิเดชัน 6, 3, 2
(ออกไซด์เป็นกรดแก่)
อิเล็กโตรเนกาติวิตี 1.66 (พอลิงสเกล)
พลังงานไอออไนเซชัน
(เพิ่มเติม)
ระดับที่ 1: 652.9 กิโลจูล/โมล
ระดับที่ 2: 1590.6 กิโลจูล/โมล
ระดับที่ 3: 2987 กิโลจูล/โมล
รัศมีอะตอม 140 pm
รัศมีอะตอม (คำนวณ) 166 pm
รัศมีโควาเลนต์ 127 pm
อื่น ๆ
การจัดเรียงทางแม่เหล็ก AFM (rather: SDW)
ความต้านทานไฟฟ้า (20 °C) 125 nΩ·m
การนำความร้อน (300 K) 93.9 W/(m·K)
การขยายตัวจากความร้อน (25 °C) 4.9 µm/(m·K)
อัตราเร็วของเสียง (แท่งบาง) (20 °C) 5940 m/s
มอดุลัสของยัง 279 GPa
โมดูลัสของแรงเฉือน 115 GPa
โมดูลัสของแรงบีบอัด 160 GPa
อัตราส่วนปัวซง 0.21
ความแข็งโมส 8.5
ความแข็งวิกเกอร์ส 1060 MPa
ความแข็งบริเนล 1120 MPa
เลขทะเบียน CAS 7440-47-3
ไอโซโทปเสถียรที่สุด
บทความหลัก: ไอโซโทปของchromium
iso NA ครึ่งชีวิต DM DE (MeV) DP
50Cr syn > 1.3 E18 y εε - 50Ti
51Cr syn 27.7025 d ε - 51V
γ 0.320 -
52Cr 83.789% Cr เสถียร โดยมี 28 นิวตรอน
53Cr 9.501% Cr เสถียร โดยมี 29 นิวตรอน
54Cr 2.365% Cr เสถียร โดยมี 30 นิวตรอน
แหล่งอ้างอิง

โครเมียม (อังกฤษ: Chromium) เป็นธาตุในตารางธาตุซึ่งมีสัญลักษณ์เป็น Cr มีหมายเลขอะตอมเป็น 24 ชื่อโครเมียมมีรากศัพท์ดั้งเดิมมาจากภาษากรีก คำว่า Chrome หมายถึงสี[1]

คุณสมบัติเฉพาะตัว

[แก้]

โครเมียม Chromium มีคุณสมบัติเป็นโลหะตามตางรางธาตุ แบ่งออกตามวาเลนต์ดังนี้ 0 1 2 3 4 และ 6 โครเมียมโลหะทรานซิชัน (transition metal) เป็นธาตุในบล็อก-ดี (d-block) ตามตารางธาตุ ซึงมีคุณสมบัติดังนี้

  • จุดเดือดจุดหลอมเหลวสูง
  • ใช้เคลือบผิวโลหะ เพือป้องกันการผุกร่อน และเพื่อความสวยงาม
  • นำไฟฟ้าได้ดี
  • สามารถตีแผ่เป็นแผ่นได้
  • มีความมันวาว

การนำไปใช้

[แก้]

ในงานโลหกรรม ใช้ในการป้องกันการกัดกร่อน และทำให้เกิดความมันวาว เช่นการทำชิ้นส่วนรถยนต์หรือชิ้นส่วนแต่งมอเตอร์ไซด์

  1. ผสมเป็นโลหะผสม เช่น มีดสแตนเลส
  2. การเคลือบโลหะ
  3. ใช้ในอะลูมิเนียมอะโนไดส์ ทำให้พื้นผิวของอะลูมิเนียมกลายเป็นทับทิมในสี
  4. โครเมียม (III) ออกไซด์ เป็นผงขัดโลหะ
  5. เกลือโครเมียมทำให้แก้วมีสีเขียวมรกต
  6. โครเมียมทำให้ทับทิมมีสีแดง จึงใช้ผลิตทับทิมเทียม
  7. ทำให้เกิดสีเหลืองสำหรับทาสี
  8. เป็นตัวเร่งปฏิกิริยา
  9. โครไมต์ใช้ทำแม่พิมพ์สำหรับการเผาอิฐ
  10. เกลือโครเมียมใช้ในการฟอกหนัง
  11. โปแตสเซียม ไดโครเมต เป็นสารทำปฏิกิริยา ใช้ในการทำความสะอาดเครื่องแก้วในห้องปฏิบัติการ และเป็นสารทำการไทเครท นอกจากนี้ ยังใช้ในการทำให้สีย้อมติดผ้า
  12. โครเมียม (IV) ออกไซด์ (CrO2) ใช้ผลิตเทปแม่เหล็ก มีประสิทธิภาพสูงกว่าเทปที่ผลิตจากเหล็กออกไซด์
  13. ใช้ป้องกันการกัดกร่อนในการเจาะบ่อ
  14. ใช้เป็นอาหารเสริม หรือยาลดน้ำหนัก ส่วนใหญ่เป็น โครเมียม (III) คลอไรด์ และโครเมียม (III) "พโกลิเนต
  15. โครเมียม เฮกซะคาร์บอนิล (Cr (CO) 6) ใช้ผสมลงในเบนซิน
  16. โครเมียม โบไรด์ (CrB) ใช้เป็นตัวนำไฟฟ้าอุณหภูมิสูง
  17. โครเมียม (III) ซัลเฟต (Cr2 (SO4) 3) ใช้เป็นผงสีเขียวในสี เซอรามิก วาร์นิช และหมึก รวมทั้งการเคลือบโลหะ

ประวัติการค้นพบ

[แก้]

สมัยก่อนนั้นพบได้ที่หลุมศพของราชวงศ์ฉินปลายศตวรรษที่ 3 ของกองทัพ Terracotta ใกล้กับเมืองซีอาน ประเทศจีน พบได้จากโลหะ และเนื้อไม้ โดยค้นพบโดยนักโบราณคดี ได้รับการวิเคราะห์จากนักโบราณคดีว่า แม้ว่าฝังอยู่ กว่า2000 ปีแล้วก็ตาม แต่ความเป็นสีบรอนซ์ยังติดอยู่ในโลหะและรูปเกาะสลักไม้ และที่น่าแปลกคือมีคือมีการกัดกร่อนน้อยอย่างไม่คาดคิด นั้นอาจจะเป็นเพราะว่ามีคนจงใจเคลือบโครเมียมไดออกไซด์ อย่างไรก็ตามถ้าดูด้วยตาเปล่าก็จะไม่ทราบว่าโลหะเหล่านั้นชุบด้วยโครเมียม

ในปี 1761 แร่ธาตุโครเมียมนั้นทางแถบตะวันตกในศตวรรษวรรษที่ 18 ไห้ความสนใจกันมากเมื่อ วันที่ 26 กรกฎาคม 1761 Gohann Gottlob Lemann ได้พบแร่สีส้มแดงในการทำเหมืองแร่ Beryozovkoye ในเทือกเขา Ural และเขาได้ตั้งมันว่า Siberian redlead

ในปี 1770 Peter Simon Pallas ได้เข้าเยี่ยมชมภายสถานที่ค้นพบแร่สีส้มแดง เช่นเดียวกับ Lomann และพบแร่ red lead มีคุณสมบัติที่มีประโยชน์เป็นต่อการค้า และใช้เป็นแฟชั่นในปัจจุบัน โครเมียมยังเป็นที่รู้จักเป็นเงามันเมื่อขัด มันถูกใช้เป็นสารเคลือบผิวป้องกันและการตกแต่งบนชิ้นส่วนรถยนต์, ติดตั้งประปา, ชิ้นส่วนเฟอร์นิเจอร์และรายการอื่น ๆ อีกมากมายที่ใช้โดยปกติไฟฟ้า แต่การใช้เพียงแค่นี้ก็กลายเป็นที่แพร่หลายกับการพัฒนาของกระบวนการที่ดีขึ้นในปี 1924[2][3]


สารประกอบโครเมียม

[แก้]
  1. โลหะโครเมียม Chromium metal
  2. ไดวาเลนต์โครเมียม Divalent chromium compound (Cr2+)
  3. ไตรวาเลนต์โครเมียม Trivalent chromium compound (Cr3+)
  4. เฮกซะวาเลนต์โครเมียม Hexavalent chromium compound (Cr6+)

ไตรวาเลนต์โครเมียม (trivalent chromium, Cr(III))

[แก้]

หรือ chromic compound เป็นธาตุที่มีความจำเป็นต่อร่างกายในขบวนการ glucose metabolism ส่วน compound อื่น ๆ ที่พบในกลุ่มนี้ ได้แก่ chromic oxide (Cr2O3), chromic sulfate(Cr2[SO4]3), chromic chloride (CrCl3), chromicpotassium sulfate (KCr[SO4]2) และ chromite ore (FeOCr2O3)โครเมียมที่พบตามธรรมชาติส่วนใหญ่อยู่ในรูปไตรวาเลนต์โครเมียม (trivalent chromium, Cr(III)) ถึงอย่างไรก็ตามถ้าสภาพแวดล้อมเปลี่ยนไป เช่น การเปลี่ยนแปลงค่าความเป็นกรด-เบส(ด่าง)หรือการเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชัน ทำให้พบเฮกซะวาเลนต์โครเมียม (hexavalent chromium, Cr(VI)) ได้[4]

ไตรวาเลนต์โครเมียมพบมากในอาหาร น้ำดื่ม และสิ่งแวดล้อมตามธรรมชาติ เป็นธาตุที่จำเป็นต่อร่างกาย มีหน้าที่ช่วยกระตุ้นการทำงานของเอนไซม์ โดยเปลี่ยนน้ำตาลกลูโคสให้เป็นพลังงาน ช่วยในกระบวนการสังเคราะห์กรดไขมัน และคอเลสเตอรอล รักษาสมดุลของสารอินซูลินในเลือด และควบคุมปริมาณคอเลสเตอรอลในร่างกาย เปลี่ยนไขมันในร่างกายให้เป็นไขมันดี (HDL) มีการสังเคราะห์ไตรวาเลนต์โครเมียมและวางจำหน่ายเป็นอาหารเสริมสำหรับผู้ที่ต้องการควบคุมคอเลสเตอรอล หรือต้องการลดความอ้วน[5] โดยทั่วไปคนเราต้องการไตรวาเลนต์โครเมียมในปริมาณ 200 ไมโครกรัมต่อวัน โครเมียมที่ร่างกายต้องการเป็นโครเมียมที่อยู่ในรูปไตรวาเลนต์โครเมียมเท่านั้น[6]

เฮกซะวาเลนต์โครเมียม (hexavalent chromium, Cr(VI))

[แก้]

เฮกซะวาเลนต์โครเมียมเป็นสารอันตรายที่จัดอยู่ในกลุ่มของสารก่อมะเร็งที่ส่งผลกระทบต่อยีน (genotoxic carcinogen) เมื่อได้รับสารดังกล่าวเป็นเวลานานจะมีโอกาสเป็นมะเร็งปอด โครงสร้างดีเอ็นเอถูกทำลายได้ง่ายมากขึ้น นอกจากนี้เฮกซะวาเลนต์โครเมียมยังถูกสั่งห้าม และจำกัดการใช้ให้มีปริมาณลดน้อยลง มีอุตสาหกรรมจำนวนมากยังคงใช้เป็นวัตถุดิบในหลายผลิตภัณฑ์ ดังนั้นจึงมีโอกาสที่เฮกซะวาเลนต์โครเมียมจะเกิดการปนเปื้อนในน้ำ ดังนั้นการเผยแพร่ถึงภัยอันตรายจากการปนเปื้อนของเฮกซะวาเลนต์โครเมียม วิธีการป้องกัน และการตรวจวัดนับว่ามีความสำคัญอย่างยิ่งต่อสุขภาพอนามัยของประชาชนโดยทั่วไป

เฮกซะวาเลนต์โครเมียม (hexavalent chromium, Cr(VI))แบ่งเป็น 2 กลุ่มย่อย

  1. กลุ่มที่ละลายน้ำได้ (water-soluble hexavalent compounds) ได้แก่ chromic acid, anhydride of chromicacid, monochromate, dichromate of sodium, potassium,

ammonium, cesium, rubidium และ lithium เป็นต้น

  1. กลุ่มที่ไม่ละลายน้ำ (water-insoluble hexavalent compounds) ได้แก่ zinc chromate, calcium chromate,lead chromate,

barium chromate, strontium chromate และ sintered chromium trioxide เป็นต้น [7]

ผู้ได้รับสารเฮกซะวาเลนต์โครเมียมจะมีอาการระคายเคืองที่ผิวหนัง เป็นโรคหอบหืด โรคระบบทางเดินหายใจ ทำให้ปอด ตับ ไต และลำไส้ถูกทำลาย มีอาการบวมน้ำ และเจ็บแถวกระบังลมหรือลิ้นปี[8]

ประวัติการค้นพบ

[แก้]

สมัยก่อนนั้นพบได้ที่หลุมศพของราชวงศ์ฉินปลายศตวรรษที่ 3 ของกองทัพ Terracotta ใกล้กับเมืองซีอาน ประเทศจีน พบได้จากโลหะ และเนื้อไม้ โดยค้นพบโดยนักโบราณคดี ได้รับการวิเคราะห์จากนักโบราณคดีว่า แม้ว่าฝังอยู่ กว่า2000 ปีแล้วก็ตาม แต่ความเป็นสีบรอนซ์ยังติดอยู่ในโลหะและรูปเกาะสลักไม้ และที่น่าแปลกคือมีคือมีการกัดกร่อนน้อยอย่างไม่คาดคิด นั้นอาจจะเป็นเพราะว่ามีคนจงใจเคลือบโครเมียมไดออกไซด์ อย่างไรก็ตามถ้าดูด้วยตาเปล่าก็จะไม่ทราบว่าโลหะเหล่านั้นชุบด้วยโครเมียม

ในปี 1761 แร่ธาตุโครเมียมนั้นทางแถบตะวันตกในศตวรรษวรรษที่ 18 ไห้ความสนใจกันมากเมื่อ วันที่ 26 กรกฎาคม 1761 Gohann Gottlob Lemann ได้พบแร่สีส้มแดงในการทำเหมืองแร่ Beryozovkoye ในเทือกเขา Ural และเขาได้ตั้งมันว่า Siberian redlead

ในปี 1770 Peter Simon Pallas ได้เข้าเยี่ยมชมภายสถานที่ค้นพบแร่สีส้มแดง เช่นเดียวกับ Lomann และพบแร่ red lead มีคุณสมบัติที่มีประโยชน์เป็นต่อการค้า และใช้เป็นแฟชั่นในปัจจุบัน โครเมียมยังเป็นที่รู้จักเป็นเงามันเมื่อขัด มันถูกใช้เป็นสารเคลือบผิวป้องกันและการตกแต่งบนชิ้นส่วนรถยนต์, ติดตั้งประปา, ชิ้นส่วนเฟอร์นิเจอร์และรายการอื่น ๆ อีกมากมายที่ใช้โดยปกติไฟฟ้า แต่การใช้เพียงแค่นี้ก็กลายเป็นที่แพร่หลายกับการพัฒนาของกระบวนการที่ดีขึ้นในปี 1924[9]

การดูดซึมและการแพร่กระจายของโครเมียมและสารประกอบโครเมียม

[แก้]

โครเมียมนั้นมีอยู่หลายประเภท แบ่งตามวาเลนต์ 0 1 2 3 4 และ 6 ซึ่งไตรวาเลนต์โครเมียมและเฮกซะวาเลนต์โครเมียมมีความสำคัญต่อสิ่งมีชีวิตมากถ้าหากว่าได้รับในปริมาณที่มากเกินไปก็จะก่ออันตรายต่อคน และสิ่งมีชีวิตอื่นๆในสิ่งแวดล้อมได้เช่นกัน ดังนั้นควรใช้ในปริมาณที่พอควรไม่ก่อไห้เกิดผลเสียต่อตัวเราและสิ่งมีชีวิตอื่นๆ แต่ไตรวาเลนต์โครเมียมนั้นเป็นสารที่ช่วยในกระบวนการเผาผลาญน้ำตาลในเลือดและไขมันในร่างกายดังนั้นจึงเป็นประโยชน์แกผู้ที่มีความประสงค์อยากลดน้ำหนักจึงทำไห้เกิดการสกัดสารชนิดนี้ขึ้นเพื่อการค้า และที่สำคัญสารชนิดนี้มีส่วนช่วยรักษาสมดุลน้ำตาลของผู้ป่วยเบาหวานผู้สูงอายุและเด็กที่ขาดสารอาหาร ดังนั้นไตรวาเลนต์โครเมียมจึงเป็นสารชนิดหนึ่งที่เป็นประโยชน์อย่างมากในด้านการแพทย์ แต่ถ้าหากเป็นสารประกอบโครเมียมประเภทอื่นก็จะก่ออันตรายได้ การขาดสารไตรวาเลนต์โครเมียมนั้นจำทำไห้พิษผู้ป่วยสารตะกั่วมีความรุนแรงสูงขึ้น โครเมียมและสารประกอบโครเมียมในร่างกายจะถ่ายทอดร่ายกายของแม่ไปสู่รุ่นลูกได้ แต่ทารกในครรภ์มารดาเมื่อมีอายุที่สูงขึ้นก็จะมีปริมาณการสะสมของโครเมียมในเนื้อเยื้อลดลงไปด้วยยกเว้นการสะสมทางปอดจะไม่ลดลงตามอายุ โครเมียมและสารประกอบโครเมียมสามารถเข้าสู่ร่างกายได้หลายทางทั้งนี้ขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายอย่างเช่น ชนิดของ วาเลนต์ (Valence)[10]

ทางการหายใจ

[แก้]

โครเมียมและสารประกอบโครเมียมจะถูกดูสึมเข้าไปในร่างกานผ่านการสูดดม ทางระบบทางเดินหายใจปัจจัยนี้พบมากในบุคนที่ทำงานในโรงงานอุตสหกรรมที่เกี่ยวข้องกับโครเมียมและสารประกอบโครเมียม และโครเมียมในรูปแบบโครเมียมเฮกซะวาเลนต์สามารถดูดซึมเข้าร่างกายได้ง่ายกว่า ไตรวาเลนต์โครเมียม

ทางการบริโภค

[แก้]

ร่ายกายจะรับโครเมียมและสารประกอบโครเมียมจากบริโภคอาหารและน้ำดิมเป็นส่วนใหญ่ เพราะ โครเมียมและสารประกอบโครเมียมนั้นจะได้รับการปนเปื้อนมากจากน้ำที่โรงงานอุตสหกรรม น้ำก็จะนำมาใช้ในกระบวนการผลิดอาหาร เฮกซะวาเลนต์จะถูกดูดซึมจากระบบทางเดินอาหารได้ดีกว่า ไตรวาเลนต์โครเมียม ถึง 3-5 เท่า ซึ่งเป็นผลจากการที่เฮกซะวาเลนต์โครเมียมซึมผ่าน cell membrane ได้

ทางผิวหนัง

[แก้]

ทั้งโครเมียมไตรวาเลน และโครเมียมเฮกซา วาเลนสามารถซึมผ่านผิวหนังได้น้อยมากยกเว้นกรณีที่ผิวหนัง เป็นแผลจากการเผาไหม้ ทำให้สารประกอบโครเมียมบางชนิด เข้าสู่ร่างกายได้ เช่น potassium dichromate และ chromium chloride

ความเป็นพิษ

[แก้]

สุขภาพ

[แก้]

การที่โครเมียมและสารประกอบโครเมียมนั้นเข้าสู่ร่างกายแล้ว ไตรวาเลนต์โครเมียมจะรวมกันกับ transferrin ใน plasma ที่อยู่ในร่างกายของและจะแพร่กระจายไปทั่วเข้าสู่ร่างกาย มีเพียงส่วนน้อยที่จะเข้าไปภายในเม็ดเลือดแดง แต่ในทางกลับกันนั้น เฮกซะวาเลนต์โครเมียมนั้นเมื่อเข้าสู่ร่างกายแล้วจะผ่านเข้าไปในเม็ดเลือดแดงอย่างลวดเร็ว และจะรวมกับ b-chain ของ hemoglobin ทำไห้เปลี่ยนไปเป็น trivalent form ในเม็ดเลือดทำให้การทำงานของเม็ดเลือดแดงผิดปกติ ส่งผลไห้เกิดการทำงานของร่างกายผิดปกติไปด้วย ดังนั้น เฮกซะวาเลนต์โครเมียมจึงมีความเป็นพิษสูง และสูงกว่า ไตรวาเลนต์โครเมียมอยู่มาก เนื่องจากเฮกซะวาเลนต์โคเมียมนั้นมีฤทธิ์เป็น oxidizing agent จึงทำไห้มีการกัดกล่อนเนื้อเยื้อต่างๆของร่างๆกายก่อไห้เกิดมะเร็งได้ และ เฮกซะวาเลนต์โครเมียมยังสามารถที่จะจับตัวกับโปรตีนและกรดนิวคลีอิก ทำไห้เกิดการเปลี่ยนเปลงรูปร่างไป เนื่องจากโปรตีน เป็นส่วนช่วยสร้างเนื้อเยื่อ เมื่อโปรตีทำงานผิดปกติจะส่งผลให้การทำงานของโปนตีนเปลี่ยนไปเกิดการเปลี่ยนรูปร่างไปหรือ อาจจะเกิดการเน่าเปื่อยของร่างกายได้[11]

1. ความเป็นพิษแบบเฉียบพลันคือเกิดอาการโดยไม่ทันตั้งตัว มักพบในกรณีที่มากจากการรับประทานโครเมียมเฮกซะวาเลนต์มีความเป็นพิษสูง เข้าไปโดยไม่รู้ตัว เช่น chromic acid ทำให้เกิด การระคายเคืองทำไห้มีการคลื่นไส้ อาเจียน ปวดท้องอย่างรุนแรง เป็นอันตรายต่อกระเพราะอาหารและลำไส้ ไตวายเสียชีวิตได้ ปริมาณที่ทำไห้เสียชีวิตได้นั้นต้องปริมาณที่ 1-3 กรัมหรือมากกว่านั้น

2.ความเป็นพิษแบบเรื้อรัง คือการเป็นพิษที่เกิดจากการสะสมของโครเมียมเฮกซะวาเลนต์เป็นเวลานานๆมักพบจากการสัมผัสหรือจากการสูดดมผงตะกอนโครเมียมเข้าไป สามารถแบ่งออกเป็น

2.1 เป็นพิษต่อผิวหนังและทางเดินหายใจ สาเหตุนี้มักเกิดจากการสัมผัสโครเมียมเป็นเวลานานๆทำไห้เกิดแผลเรื้อรังได้ บริเวณที่สัมผัสนั้นเช่น มือ แขน ขา เป็นต้น พิษที่เกิดจากทางเดินหายใจนั้นก็เกิดมากจากการสูดดมเอาตะกอนเข้าไปส่งผลไห้โพรงจมูกมีความระคายเคียงทำให้เกิดพิษเรื้อรังบริเวณโพรงจมูก ในกรณีนี้อาจส่งผลไห้เยื้อบุจมูกเรื้อรังผนังกันจมูกอาจจะลุได้

2.2 เป็นสารก่อให้เกิดมะเร็ง (carcinogenicity) โดย หน่วยงาน The International Agency for Research on Cancer (IARC) และ US Toxicology Program จัดโครเมียมเฮกซาวาเลน เป็น human carcinogen เพราะมีความสามารถในการละลาย น้ำที่ดี ในคนที่ทำงานเกี่ยวกับเฮกซะเวาเลนต์โครเมียมนั้นจะมีการสัมผัสกับโครเมียมเฮกซาวาเลนเป็น เวลามากกว่า30 ปี ขึ้นไป จะส่งผลไห้เกิดความเสี่ยง และอาจจะเป็นมะเร็งปอดได้ [12][13]

สิ่งแวดล้อม

[แก้]

เนื่องจากเฮกซะวาเลนต์โครเมียมนั้นมีความเป็นพิษสูงดังนั้นก็ย่อมมีผลกับสิ่งแวดล้อมเช่นกัน โดยที่จะส่งผลจากสัตว์ที่มากินน้ำและอาหารที่ปนเปื้อนเฮกซะวาเลนต์โครเมียมเข้าไปอาจส่งผลให้สัตว์ตายได้ ส่วนพืชนั้นก็ผลที่ได้รับจากการปนเปื้อนของโครเมียมและสารประกอบโครเมียมชนิดเฮกซะวาเลนต์โครเมียมนั้นจะส่งผลทำให้พืชมีการเจริญเติบโตช้าลงและเนื่องจากว่าเฮกซะวาเลนต์โครเมียมนั้นมีความคงทนดังนั้นก็อาจมีผลทำให้เกิดการสะสมในสัตว์น้ำได้

อ้างอิง

[แก้]
  1. พินิต รตะนานุกูล. 2553. เคมี2(ธาตุเรพรีเซนเททีฟ กลุ่ม S ธาตุพรีเซนเททีฟ กลุ่ม P ธาตุแทรนซิชัน แลนทาไนด์และแอกทิไนด์ ของแข็ง). บริษัทด่านสุทธาการพิมพ์ จำกัด : มูลนิธิ สอวน.
  2. Papp, John F. "Mineral Yearbook 2011: Chromium". United States Geological Survey. [ออนไลน์] [อ้างถึงวันที่ 5-12-2557]. เข้าถึงได้จากอินเทอร์เน็ต http://minerals.usgs.gov/minerals/pubs/commodity/chromium/myb1-2011-chrom.pdf
  3. National Research Council (U.S.). Committee on Biologic Effects of Atmospheric Pollutants[ออนไลค์][อ้างอิงถึงวันที่ 9-12-2557] เข้าถึงได้โดย http://books.google.co.th/books?id=ZZsrAAAAYAAJ&hl=th
  4. ฉันทนา ผดุงทศ. ภัยสุขภาพจากโลหะ. วารสารคลินิก, พฤศจิกายน, 2549, ฉบับที่ 263.
  5. ที่มาจากเว็บ healthdd.com จากหัวข้อเรื่องสุขภาพ ดีดี ดอตคอม เรื่องโครเมียม[ออนไลน์] [อ้างถึงวันที่ 13-11-2557]. เข้าถึงได้จากอินเทอร์เน็ต http://www.healthdd.com/article/article_preview.php?id=44 เก็บถาวร 2014-11-17 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
  6. ที่มาข้อมูลรางานของwww.nist.gov http://www.nist.gov/mml/csd/chromium_012709.cfm
  7. วารสารกรมวิทยาศาสตร์บริการ ปีที่ 60 ฉบับที่189 เรื่องผลกระทบของโครเมียมและสารประกอบต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อม โดยคุณจิระฉัตร ศรีแสน ผู้เขียน [อ้างอิงถึงวันที่ 20-11-2557] เข้าถึงได้โดย http://lib3.dss.go.th/fulltext/dss_j/2555_189_60_p10-12.pdf
  8. ที่มาสนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ [ออนไลน์] [อ้างถึงวันที่ 13-11-2557]. เข้าถึงได้จากอินเทอร์เน็ตhttp://www.nstda.or.th/nstda-knowledge/19141-hexavalent-chromium เก็บถาวร 2015-05-01 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
  9. Papp, John F. "Mineral Yearbook 2011: Chromium". United States Geological Survey. [ออนไลน์] [อ้างถึงวันที่ 5-12-2557]. เข้าถึงได้จากอินเทอร์เน็ต http://minerals.usgs.gov/minerals/pubs/commodity/chromium/myb1-2011-chrom.pdf
  10. บทความดีดีมีสาระ. โครเมียมธาตุโลหะที่สามารถถูกดูดซึมเข้าสู่ร่างกายและก่อให้เกิดโรคผิวหนังได้. [ออนไลน์] [อ้างถึงวันที่ 13-11-2557]. เข้าถึงได้จากอินเทอร์เน็ต :http://www.thaieditorial.com/tag/อันตรายจากโครเมียม เก็บถาวร 2014-10-21 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
  11. Ramathibodi Poison Center. Chromium. Bulletin, October–December, 2001, Vol 9, No.4.[ออนไลน์] [อ้างถึงวันที่ 13-11-2557]. เข้าถึงได้จากอินเทอร์เน็ต http://www.ra.mahidol.ac.th/poisoncenter/bulletin/bul%20%20 01/v9n4/Chromium.html
  12. มลิวรรณ บุญเสนอ. พิษวิทยาสิ่งแวดล้อม. พิมพ์ครั้งที่ 4. นครปฐม : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2549, หน้า 74 - 76
  13. มาตรฐการวิจัยโรคจากการทำงานฉบับเฉลิมพระเกียรติเนื่องในโอกาศมหาพระชนมพรรษา 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550[ออนไลน์] [อ้างถึงวันที่ 5-12-2557] เข้าถึงได้จากอินเทอร์เน็ต www.sso.go.th/sites/default/files/skt300551.pdf