ข้ามไปเนื้อหา

แม่น้ำติซอ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
แม่น้ำติซอ
แม่น้ำติซอที่แซแก็ด ประเทศฮังการี
แผนที่แม่น้ำติซอ
ชื่อท้องถิ่น
ที่ตั้ง
ประเทศ
เมือง
ลักษณะทางกายภาพ
ต้นน้ำ 
 • ตำแหน่งคาร์เพเทียนตะวันออก ประเทศยูเครน
 • ระดับความสูง2,020 เมตร (6,630 ฟุต)
ปากน้ำแม่น้ำดานูบ
 • ตำแหน่ง
ไหลไปยังนอวีซาด ประเทศเซอร์เบีย
 • พิกัด
45°8′17″N 20°16′39″E / 45.13806°N 20.27750°E / 45.13806; 20.27750[1]
ความยาว966 กิโลเมตร (600 ไมล์)
พื้นที่ลุ่มน้ำ156,087 ตารางกิโลเมตร (60,266 ตารางไมล์)[2] 154,073.1 ตารางกิโลเมตร (59,488.0 ตารางไมล์)[3]
อัตราการไหล 
 • ตำแหน่งNovi Slankamen ประเทศเซอร์เบีย (ใกล้ปากแม่น้ำ)
 • เฉลี่ย820 cubic metre per second (29,000 cubic foot per second) 920.111 cubic metre per second (32,493.4 cubic foot per second)[4]
 • ต่ำสุด160 cubic metre per second (5,700 cubic foot per second)
 • สูงสุด4,500 cubic metre per second (160,000 cubic foot per second)
อัตราการไหล 
 • ตำแหน่งแซแก็ด ประเทศฮังการี (ห่างจากปากแม่น้ำ 173.6 กิโลเมตร - ขนาดลุ่มแม่น้ำ: 138,857.7 ตารางกิโลเมตร (53,613.3 ตารางไมล์)[5]
 • เฉลี่ย769 cubic metre per second (27,200 cubic foot per second) 890.451 cubic metre per second (31,446.0 cubic foot per second)[6]
อัตราการไหล 
 • ตำแหน่งโซลโนก ประเทศฮังการี (ห่างจากปากแม่น้ำ 334.6 กิโลเมตร - ขนาดลุ่มแม่น้ำ: 72,889.4 ตารางกิโลเมตร (28,142.8 ตารางไมล์)[7]
 • เฉลี่ย546 cubic metre per second (19,300 cubic foot per second) 578.922 cubic metre per second (20,444.4 cubic foot per second)
อัตราการไหล 
 • ตำแหน่งโทกอย ประเทศฮังการี (ห่างจากปากแม่น้ำ 543.079 กิโลเมตร - ขนาดลุ่มแม่น้ำ: 49,120.9 ตารางกิโลเมตร (18,965.7 ตารางไมล์)[8]
 • เฉลี่ย465 cubic metre per second (16,400 cubic foot per second) 468.77 cubic metre per second (16,554 cubic foot per second)[9]
อัตราการไหล 
 • ตำแหน่งVásárosnamény ประเทศฮังการี (ห่างจากปากแม่น้ำ 684.45 กิโลเมตร - ขนาดลุ่มแม่น้ำ: 30,978.9 ตารางกิโลเมตร (11,961.0 ตารางไมล์)[10]
 • เฉลี่ย340.62 cubic metre per second (12,029 cubic foot per second)[11]
ลุ่มน้ำ
ลำดับแม่น้ำแม่น้ำดานูบทะเลดำ
ลำน้ำสาขา 
 • ซ้ายซอเมช, เกอเริช, มูเรช, Bega
 • ขวาBodrog, ซอโย, Eger, Zagyva

แม่น้ำติซอ (ฮังการี: Tisza), แม่น้ำตือซา (ยูเครนและรูซึน: Тиса) หรือ แม่น้ำติซา (สโลวัก, เซอร์เบีย และโรมาเนีย: Tisa) เป็นหนึ่งในแม่น้ำสายสำคัญในยุโรปกลาง ต้นน้ำอยู่ในเทือกเขาคาร์เพเทียน ไหลผ่านประเทศยูเครน ไหลไปทางตะวันตก เป็นส่วนหนึ่งของเส้นเขตแดนระหว่างประเทศยูเครนกับประเทศโรมาเนีย แล้วไหลไปทางตะวันตกเฉียงใต้ ผ่านประเทศฮังการี เข้าไปทางเหนือของประเทศเซอร์เบีย ลงสู่แม่น้ำดานูบ

แม่น้ำติซอมีพื้นที่รองรับน้ำ 156,087 ตร.กม. (60,266 ตร.ไมล์)[2] มีความยาว 966 กิโลเมตร (600 ไมล์)[12] เป็นแควสายที่ยาวที่สุดของแม่น้ำดานูบ มีการระบายน้ำต่อปีราว 792 m3/s (28,000 cu ft/s)

กล่าวกันว่ามีการฝังร่างอัตติลาไว้ที่ส่วนโค้งของแม่น้ำติซอ[13]

อ้างอิง

[แก้]
  1. Tisza ที่ GEOnet Names Server
  2. 2.0 2.1 Tockner, Klement; Uehlinger, Urs; Robinson, Christopher T., บ.ก. (2009). Rivers of Europe (First ed.). London: Academic Press. Sec. 3.9.5. ISBN 978-0-12-369449-2.
  3. "Rivers Network". 2020. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2022-10-12. สืบค้นเมื่อ 2022-05-08.
  4. "Rivers Network". 2020. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2022-10-12. สืบค้นเมื่อ 2022-05-08.
  5. "Rivers Network". 2020. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2022-10-12. สืบค้นเมื่อ 2022-05-08.
  6. "Rivers Network". 2020. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2022-10-12. สืบค้นเมื่อ 2022-05-08.
  7. "Rivers Network". 2020. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2022-10-12. สืบค้นเมื่อ 2022-05-08.
  8. "Rivers Network". 2020. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2022-10-12. สืบค้นเมื่อ 2022-05-08.
  9. "Rivers Network". 2020. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2022-10-12. สืบค้นเมื่อ 2022-05-08.
  10. "Rivers Network". 2020. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2022-10-12. สืบค้นเมื่อ 2022-05-08.
  11. "Rivers Network". 2020. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2022-10-12. สืบค้นเมื่อ 2022-05-08.
  12. "Analysis of the Tisza River Basin 2007- Initial step toward the Tisza River Basin Management Plan – 2009" (PDF). www.icpdr.or. March 2008. สืบค้นเมื่อ 5 February 2021.
  13. Ildiko Ecsedy, "The Oriental Background to the Hungarian Tradition about 'Attila's Tomb'", Acta Orientalia, 36 (1982), pp. 129-153

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]