แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559
แผ่นดินไหว รุนแรงที่สุด | 7.8 Mw อินโดนีเซีย เอกวาดอร์ นิวซีแลนด์ |
---|---|
ผู้เสียชีวิตมากที่สุด | 673 คน 7.8 Mw เอกวาดอร์ |
ผู้เสียชีวิตทั้งหมด | 1,213 คน |
จำนวนตามแมกนิจูด | |
9.0+ | 0 |
8.0−8.9 | 0 |
7.0−7.9 | 14 |
6.0−6.9 | 109 |
5.0−5.9 | 1,282 |
4.0−4.9 | 11,294 |
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559 แสดงเนื้อหาเฉพาะแผ่นดินไหวขนาด 6 แมกนิจูดขึ้นไป และแผ่นดินไหวที่มีขนาดต่ำกว่า 6 ที่สร้างความเสียหาย มีผู้บาดเจ็บเสียชีวิต หรือมีความโดดเด่นอื่น วันเวลาทั้งหมดแสดงในรูปแบบเวลาสากลเชิงพิกัด (UTC) ความรุนแรงสูงสุดแสดงตามมาตราเมร์กัลลี และใช้แหล่งที่มาจากฐานข้อมูล "ShakeMap" ของสำนักงานสำรวจธรณีวิทยาแห่งสหรัฐอเมริกา (USGS)
ตารางเทียบรายปี
[แก้]- ณ วันที่ 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559
แมกนิจูด | 2549 | 2550 | 2551 | 2552 | 2553 | 2554 | 2555 | 2556 | 2557 | 2558 | 2559 |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
8.0–9.9 | 2 | 4 | 0 | 1 | 1 | 1 | 2 | 2 | 1 | 1 | 0 |
7.0–7.9 | 9 | 14 | 12 | 16 | 21 | 19 | 15 | 17 | 11 | 18 | 17 |
6.0–6.9 | 142 | 178 | 168 | 144 | 151 | 204 | 129 | 125 | 140 | 124 | 126 |
5.0–5.9 | 1,712 | 2,074 | 1,768 | 1,896 | 1,963 | 2,271 | 1,412 | 1,402 | 1,475 | 1,413 | 1,507 |
4.0–4.9 | 12,838 | 12,080 | 12,292 | 6,805 | 10,164 | 13,303 | 10,990 | 9,795 | 13,494 | 13,239 | 12,771 |
Total | 14,703 | 14,350 | 14,240 | 8,862 | 12,300 | 15,798 | 12,548 | 11,341 | 15,121 | 14,795 | 14,421 |
สังเกตว่าจำนวนแผ่นดินไหวที่ตรวจพบเพิ่มขึ้นนั้นไม่จำเป็นต้องแสดงว่ามีแผ่นดินไหวเพิ่มขึ้นโดยตัวเอง การเพิ่มขึ้นของประชากร การกระจายถิ่นที่อยู่และความก้าวหน้าของเทคโนโลยีตรวจจับแผ่นดินไหวล้วนเป็นปัจจัยให้มีการบันทึกจำนวนแผ่นดินไหวเพิ่มขึ้นตามกาลทั้งสิ้น ตำนานแผ่นดินไหว เก็บถาวร 2016-03-19 ที่ เวย์แบ็กแมชชีนของสำนักสำรวจธรณีวิทยาสหรัฐอเมริกามีสารสนเทศเพิ่มเติม
สำหรับประเทศไทย สามารถดูกราฟรายงานแผ่นดินไหวอัตโนมัติได้ที่ สถานีตรวจแผ่นดินไหวอัตโนมัติ สำนักเฝ้าระวังแผ่นดินไหว กรมอุตุนิยมวิทยา และรายงานแผ่นดินไหวภายในประเทศได้ที่ รายงานแผ่นดินไหวภายในประเทศและใกล้เคียง
สำหรับวันที่แน่นอนและการเกิดแผ่นดินไหวสามารถเข้าชมได้ที่ แผนที่แสดงแผ่นดินไหวแบบเรียลไทม์
เรียงตามจำนวนผู้เสียชีวิต
[แก้]ที่ | จำนวนผู้เสียชีวิต | แมกนิจูด | สถานที่ | MMI | ความลึก (กม.) | วันที่ |
---|---|---|---|---|---|---|
1 | 673 | 7.8 | เอกวาดอร์ | VIII | 20.6 | 16 เมษายน |
2 | 299 | 6.2 | อิตาลี | IX | 5.1 | 24 สิงหาคม |
3 | 117 | 6.4 | ไต้หวัน | VII | 23.0 | 6 กุมภาพันธ์ |
4 | 104 | 6.5 | อินโดนีเซีย | IX | 13.0 | 6 ธันวาคม |
5 | 41 | 7.0 | ญี่ปุ่น | IX | 10.0 | 15 เมษายน |
6 | 23 | 5.9 | แทนซาเนีย | VII | 40.0 | 10 กันยายน |
7 | 11 | 6.7 | อินเดีย | VII | 55.0 | 3 มกราคม |
- หมายเหตุ: แสดงเฉพาะแผ่นดินไหวที่มีผู้เสียชีวิตตั้งแต่ 10 คนขึ้นไป
เรียงตามแมกนิจูด
[แก้]ที่ | แมกนิจูด | จำนวนผู้เสียชีวิต | สถานที่ | MMI | ความลึก (กม.) | วันที่ |
---|---|---|---|---|---|---|
1 | 7.9 | 0 | ปาปัวนิวกินี | VIII | 103.2 | 17 ธันวาคม |
2 | 7.8 | 673 | เอกวาดอร์ | VIII | 20.6 | 16 เมษายน |
2 | 7.8 | 0 | อินโดนีเซีย | III | 24.0 | 2 มีนาคม |
2 | 7.8 | 2 | นิวซีแลนด์ | IX | 23.0 | 13 พฤศจิกายน |
2 | 7.8 | 1 | หมู่เกาะโซโลมอน | VIII | 41.0 | 8 ธันวาคม |
6 | 7.7 | 0 | หมู่เกาะนอร์เทิร์นมาเรียนา | VI | 212.4 | 29 กรกฎาคม |
7 | 7.6 | 0 | ชิลี | VIII | 35.2 | 25 ธันวาคม |
8 | 7.4 | 0 | เกาะเซาท์จอร์เจียและหมู่เกาะเซาท์แซนด์วิช | I | 10.0 | 19 สิงหาคม |
9 | 7.2 | 0 | รัสเซีย | VI | 163.2 | 30 มกราคม |
9 | 7.2 | 0 | เกาะเซาท์จอร์เจียและหมู่เกาะเซาท์แซนด์วิช | VI | 72.7 | 28 พฤษภาคม |
9 | 7.2 | 0 | นิวแคลิโดเนีย | I | 9.9 | 12 สิงหาคม |
12 | 7.1 | 0 | สหรัฐอเมริกา | VII | 125.6 | 24 มกราคม |
12 | 7.1 | 0 | เกาะอัสเซนชัน | I | 10.0 | 29 สิงหาคม |
14 | 7.0 | 41 | ญี่ปุ่น | IX | 10.0 | 15 เมษายน |
14 | 7.0 | 0 | วานูวาตู | VII | 27.2 | 28 เมษายน |
14 | 7.0 | 0 | นิวซีแลนด์ | VI | 19.0 | 1 กันยายน |
14 | 7.0 | 0 | เอลซัลวาดอร์ | V | 10.3 | 24 พฤศจิกายน |
- หมายเหตุ: แสดงเฉพาะแผ่นดินไหวที่มีขนาดตั้งแต่ 7.0 แมกนิจูดขึ้นไป
เรียงตามเดือน
[แก้]มกราคม
[แก้]แผ่นดินไหว รุนแรงที่สุด | 7.2 Mw รัสเซีย |
---|---|
ผู้เสียชีวิตมากที่สุด | 6.7 Mw อินเดีย 11 คน |
ผู้เสียชีวิตทั้งหมด | 12 คน |
จำนวนตามแมกนิจูด | |
8.0−8.9 | 0 |
7.0−7.9 | 2 |
6.0−6.9 | 11 |
5.0−5.9 | 115 |
4.0−4.9 | 657 |
- เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.3 แมกนิจูด ในสันเขาอินเดีย-แอนตาร์กติกตะวันตก เมื่อวันที่ 1 มกราคม ที่ความลึก 10.0 km (6.2 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ I (ไม่รู้สึก)[2]
- เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.7 แมกนิจูด ในประเทศอินเดีย ห่างจากเมืองอิมผาล ในรัฐรัฐมณีปุระ ไปทางตะวันตก 30 km (19 mi) เมื่อวันที่ 3 มกราคม ที่ความลึก 55.0 km (34.2 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ VII (แรงมาก)[3] มีผู้เสียชีวิตอย่างน้อย 11 ราย (6 คนในอินเดีย และ 5 คนในบังคลาเทศ) มีผู้ได้รับบาดเจ็บอื่น ๆ อีก 200 คน และอาคารขนาดใหญ่ได้รับผลกระทบ[4]
- เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.0 แมกนิจูด ในสันเขาแปซิฟิก-แอนตาร์กติก เมื่อวันที่ 5 มกราคม ที่ความลึก 10.0 km (6.2 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ I (ไม่รู้สึก)[5]
- เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.5 แมกนิจูด ในอินโดนีเซีย ห่างจากหมู่เกาะตาเลาด์ จังหวัดนอร์ทซูลาเวซี ไปทางตะวันออก 8 km (5.0 mi) เมื่อวันที่ 11 มกราคม ที่ความลึก 13.0 km (8.1 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ VIII (อย่างรุนแรง)[6]
- เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.2 แมกนิจูด ในญี่ปุ่น ห่างจากรุโมะอิ บนเกาะฮกไกโดะ ไปทางตะวันตกเฉียงเหนือ 74 km (46 mi) เมื่อวันที่ 11 มกราคม ที่ความลึก 238.8 km (148.4 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ IV (อ่อน)[7]
- เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.1 แมกนิจูด ในโบลิเวีย ห่างจากคารากัว ไปทางตะวันตกเฉียงเหนือกึ่งตะวันตก 12 km (7.5 mi) เมื่อวันที่ 14 มกราคม ที่ความลึก 582.6 km (362.0 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ II (เบา)[8]
- เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.7 แมกนิจูด ห่างจากชายฝั่งของชิซุไน บนเกาะฮกไกโด ญี่ปุ่น ไปทางตะวันออกเฉียงใต้ 52 km (32 mi) เมื่อวันที่ 14 มกราคม ที่ความลึก 46.0 km (28.6 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ VII (แรงมาก)[9]
- เกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.6 แมกนิจูด ในอินโดนีเซีย ห่างจากนัมเลอา จังหวัดมาลูกู ไปทางตะวันออกเฉียงใต้กึ่งใต้ 69 km (43 mi) เมื่อวันที่ 16 มกราคม ที่ความลึก 4.2 km (2.6 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ VII (แรงมาก)[10] คนแปดคนได้รับบาดเจ็บ และบ้านเรือนประมาณ 120 หลังได้รับความเสียหายในสองหมู่บ้านบนเกาะอัมเบเลา[11]
- เกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.9 แมกนิจูด ในจีน ห่างจากฮงตู มณฑลชิงไห่ ไปทางตะวันออกเฉียงใต้กึ่งตะวันออก 70 km (43 mi) เมื่อวันที่ 20 มกราคม ที่ความลึก 9.0 km (5.6 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ VII (แรงมาก)[12] คนเก้าคนได้รับบาดเจ็บ และบ้านเรือน 600 หลังได้รับความเสียหาย[13]
- เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.6 แมกนิจูด ห่างจากชายฝั่งโตมัตแลนด์ รัฐฮาลิสโก เม็กซิโก ไปทางตะวันตกเฉียงใต้ 215 km (134 mi) เมื่อวันที่ 21 มกราคม ที่ความลึก 10.0 km (6.2 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ IV (อ่อน)[14]
- เกิดแผ่นดินไหวขนาด 7.1 แมกนิจูด ในสหรัฐอเมริกา ห่างจากโอลด์อิลิแอมนา รัฐอะแลสกา ไปทางตะวันตก 86 km (53 mi) เมื่อวันที่ 24 มกราคม ที่ความลึก 129.0 km (80.2 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ VII (แรงมาก)[15] บ้านสี่หลังถูกทำลายในเคไน รัฐอะแลสกา หลังจากเกิดแก๊สรั่ว[16]
- เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.3 แมกนิจูด ห่างจากชายฝั่งอัลโฮเคมา โมร็อกโก ไปทางตะวันออกเฉียงเหนือกึ่งเหนือ 50 km (31 mi) เมื่อวันที่ 25 มกราคม ที่ความลึก 12.0 km (7.5 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ V (ปานกลาง)[17] คนสิบห้าคนได้รับบาดเจ็บและอาคารบางหลังได้รับความเสียหาย และยังมีไฟฟ้าดับในภูมิภาคด้วย[18]
- เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.1 แมกนิจูด ห่างจากชายฝั่งตารอน ปาปัวนิวกินี ไปทางตะวันออกเฉียงใต้กึ่งใต้ 94 km (58 mi) เมื่อวันที่ 26 มกราคม ที่ความลึก 26.0 km (16.2 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ IV (เบา)[19]
- เกิดแผ่นดินไหวขนาด 7.2 แมกนิจูด ในรัสเซีย ห่างจากเยลิโซโว บนคาบสมุทรคัมชัตคา ไปทางเหนือ 88 km (55 mi) เมื่อวันที่ 30 มกราคม ที่ความลึก 177.0 km (110.0 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ VI (แรง)[20]
- เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.1 แมกนิจูด ห่างจากชายฝั่งหมู่เกาะบัลเลนี แอนตาร์กติกา ไปทางตะวันออกเฉียงเหนือ 473 km (294 mi) เมื่อวันที่ 31 มกราคม ที่ความลึก 10.0 km (6.2 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ I (ไม่รู้สึก)[21]
กุมภาพันธ์
[แก้]แผ่นดินไหว รุนแรงที่สุด | 6.4 Mw ไต้หวัน 6.4 Mw ปาปัวนิวกินี |
---|---|
ผู้เสียชีวิตมากที่สุด | 6.4 Mw ไต้หวัน 117 คน |
ผู้เสียชีวิตทั้งหมด | 117 คน |
จำนวนตามแมกนิจูด | |
8.0−8.9 | 0 |
7.0−7.9 | 0 |
6.0−6.9 | 10 |
5.0−5.9 | 69 |
4.0−4.9 | 229 |
- เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.2 แมกนิจูด ในชายฝั่งของนิวซีแลนด์ ห่างจากเลสเปแรนซ์ร็อค ไปทางตะวันตกเฉียงเหนือ 124 km (77 mi) เมื่อวันที่ 1 กุมภาพันธ์ ที่ความลึก 391.0 km (243.0 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ III (อ่อน)[22]
- เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.4 แมกนิจูด ในไต้หวัน ห่างจากอวี่จิง ไปทางตะวันออกเฉียงใต้ 24 km (15 mi) เมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ์ ที่ความลึก 23.0 km (14.3 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ VII (แรงมาก)[23] อาคารจำนวนมาก รวมถึงอาคารที่อยู่อาศัยเกิดการทรุดตัวลงในไถหนัน[24] มีผู้เสียชีวิต 117 คน[25] และมีผู้ได้รับบาดเจ็บ 550 คน[26]
- เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.4 แมกนิจูด ในชายฝั่งของปาปัวนิวกินี ห่างจากปันกูนา ไปทางตะวันตกเฉียงใต้กึ่งตะวันตก 88 km (55 mi) เมื่อวันที่ 8 กุมภาพันธ์ ที่ความลึก 29.0 km (18.0 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ V (ปานกลาง)[27]
- เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.3 แมกนิจูด ในชิลี ห่างจากโอวาลเย ไปทางตะวันตก 36 km (22 mi) เมื่อวันที่ 10 กุมภาพันธ์ ที่ความลึก 29.0 km (18.0 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ VII (แรงมาก)[28]
- เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.3 แมกนิจูด ในอินโดนีเซีย ห่างจากโกเมอร์ดา จังหวัดอีสนูซาเต็งการา ไปทางตะวันตก 0 km (0 mi) เมื่อวันที่ 12 กุมภาพันธ์ ที่ความลึก 28.0 km (17.4 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ VI (แรง)[29]
- เกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.8 แมกนิจูด ในนิวซีแลนด์ ห่างจากไครสต์เชิร์ช ไปทางตะวันออกเฉียงเหนือกึ่งตะวันออก 11 km (6.8 mi) เมื่อวันที่ 14 กุมภาพันธ์ ที่ความลึก 8.2 km (5.1 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ VIII (อย่างรุนแรง)[30] มีรายงานความเสียหายเล็กน้อยและบางส่วนได้รับความเสียหายจากการถูกทำให้เหลว บางส่วนของก็อดเลย์เฮดและหน้าผาอื่นเกิดการทรุดตัวลง[31]
- เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.0 แมกนิจูด ในชายฝั่งของตองงา ห่างจากนูกูอาโลฟา ไปทางตะวันตกเฉียงเหนือกึ่งตะวันตก 32 km (20 mi) เมื่อวันที่ 15 กุมภาพันธ์ ที่ความลึก 10.0 km (6.2 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ VI (แรง)[32]
- เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.1 แมกนิจูด ในจุดธารผุดแปซิฟิกตะวันออกตอนใต้ เมื่อวันที่ 17 กุมภาพันธ์ ที่ความลึก 13.0 km (8.1 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ I (ไม่รู้สึก)[33]
- เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.0 แมกนิจูด ในอินโดนีเซีย ห่างจากโตเบโล ไปทางตะวันออกเฉียงใต้ 151 km (94 mi) เมื่อวันที่ 17 กุมภาพันธ์ ที่ความลึก 10.0 km (6.2 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ VI (แรง)[34]
- เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.0 แมกนิจูด ในชิลี ห่างจากโกกิมโบ ไปทางตะวันตกเฉียงใต้กึ่งตะวันตก 105 km (65 mi) เมื่อวันที่ 22 กุมภาพันธ์ ที่ความลึก 12.0 km (7.5 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ IV (เบา)[35]
- เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.1 แมกนิจูด ในสันเขาแปซิฟิกตะวันตก-แอตแลนติก เมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ์ ที่ความลึก 10.0 km (6.2 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ I (ไม่รู้สึก)[36]
มีนาคม
[แก้]แผ่นดินไหว รุนแรงที่สุด | 7.8 Mw อินโดนีเซีย |
---|---|
จำนวนตามแมกนิจูด | |
8.0−8.9 | 0 |
7.0−7.9 | 1 |
6.0−6.9 | 4 |
5.0−5.9 | 75 |
4.0−4.9 | 264 |
- เกิดแผ่นดินไหวขนาด 7.8 แมกนิจูด ในชายฝั่งของอินโดนีเซีย ห่างจากมัวราซิเบรุต หมู่เกาะมันตาไว ไปทางตะวันตกเฉียงใต้ 659 km (409 mi) เมื่อวันที่ 2 มีนาคม ที่ความลึก 24.0 km (14.9 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ III (อ่อน)[37]
- เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.3 แมกนิจูด ในชายฝั่งของสหรัฐอเมริกา ห่างจากแอตกา รัฐอะแลสกา ไปทางใต้ 71 km (44 mi) เมื่อวันที่ 12 มีนาคม ที่ความลึก 19.0 km (11.8 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ IV (เบา)[38]
- เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.0 แมกนิจูด ในชายฝั่งของสหรัฐอเมริกา ห่างจากแอตกา รัฐอะแลสกา ไปทางใต้ 76 km (47 mi) เมื่อวันที่ 19 มีนาคม ที่ความลึก 17.0 km (10.6 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ IV (เบา)[39]
- เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.0 แมกนิจูด ในชายฝั่งของแอนติกาและบาร์บูดา ห่างจากโคดริงตัน ไปทางตะวันออกเฉียงเหนือกึ่งตะวันออก 124 km (77 mi) เมื่อวันที่ 19 มีนาคม ที่ความลึก 32.0 km (19.9 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ IV (เบา)[40]
- เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.4 แมกนิจูด ในชายฝั่งของรัสเซีย ห่างจากอุซกัมแชต ไปทางใต้ 211 km (131 mi) เมื่อวันที่ 20 มีนาคม ที่ความลึก 31.3 km (19.4 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ IV (เบา)[41]
เมษายน
[แก้]แผ่นดินไหว รุนแรงที่สุด | 7.8 Mw เอกวาดอร์ |
---|---|
ผู้เสียชีวิตมากที่สุด | 7.8 Mw เอกวาดอร์ 673 คน |
ผู้เสียชีวิตทั้งหมด | 732 คน |
จำนวนตามแมกนิจูด | |
8.0−8.9 | 0 |
7.0−7.9 | 2 |
6.0−6.9 | 15 |
5.0−5.9 | 103 |
4.0−4.9 | 305 |
- เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.0 แมกนิจูด ในชายฝั่งของญี่ปุ่น ห่างจากชินงู จังหวัดวะกะยะมะ ไปทางตะวันออกเฉียงใต้ 56 km (35 mi) เมื่อวันที่ 1 เมษายน ที่ความลึก 10.0 km (6.2 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ IV (เบา)[42]
- เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.2 แมกนิจูด ในปาปัวนิวกินี ห่างจากอังโกรัม ไปทางตะวันออกเฉียงเหนือ 123 km (76 mi) เมื่อวันที่ 1 เมษายน ที่ความลึก 5.4 km (3.4 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ V (ปานกลาง)[43]
- เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.2 แมกนิจูด ในสหรัฐอเมริกา ห่างจากชิกนิกเลก รัฐอลาสก้า ไปทางตะวันออกเฉียงเหนือกึ่งเหนือ 100 km (62 mi) เมื่อวันที่ 2 เมษายน ที่ความลึก 17.9 km (11.1 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ VI (แรง)[44]
- เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.9 แมกนิจูด ในวานูอาตู ห่างจากพอร์ตออลรี ไปทางตะวันตกเฉียงเหนือกึ่งเหนือ 81 km (50 mi) เมื่อวันที่ 3 เมษายน ที่ความลึก 35.0 km (21.7 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ VII (แรงมาก)[45]
- เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.7 แมกนิจูด ในวานูอาตู ห่างจากซูลา ไปทางตะวันตกเฉียงใต้กึ่งตะวันตก 105 km (65 mi) เมื่อวันที่ 6 เมษายน ที่ความลึก 24.0 km (14.9 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ V (ปานกลาง)[46] แผ่นดินไหวครั้งนี้เป็นแผ่นดินไหวตามของแผ่นดินไหว 6.9
- เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.0 แมกนิจูด ในชายฝั่งของอินโดนีเซีย ห่างจากบูนีซารี ไปทางตะวันตกเฉีนงใต้กึ่งใต้ 68 km (42 mi) เมื่อวันที่ 6 เมษายน ที่ความลึก 35.4 km (22.0 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ IV (เบา)[47]
- เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.7 แมกนิจูด ในวานูอาตู ห่างจากซูลา ไปทางตะวันตก 106 km (66 mi) เมื่อวันที่ 7 เมษายน ที่ความลึก 26.8 km (16.7 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ V (ปานกลาง)[48] โดยครั้งนี้เป็นแผ่นดินไหวตามของแผ่นดินไหว 6.9 ครั้งก่อน
- เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.1 แมกนิจูด ในเนปาล ห่างจากปาฏัน ไปทางตะวันตกเฉียงใต้กึ่งใต้ 9 km (5.6 mi) เมื่อวันที่ 9 เมษายน ที่ความลึก 4.1 km (2.5 mi)[49] มีผู้ได้รับบาดเจ็บจากเหตุแผ่นดินไหวอย่างน้อย 3 คน[50]
- เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.6 แมกนิจูด ในอัฟกานิสถาน ห่างจากอัชคาชาม จังหวัดบาดัคชาน ไปทางตะวันตกเฉียงใต้กึ่งตะวันตก 39 km (24 mi) เมื่อวันที่ 10 เมษายน ที่ความลึก 210.4 km (130.7 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ IV (เบา)[51] มีผู้เสียชีวิตหกคน และผู้ได้รับบาดเจ็บสี่สิบหกคนในปากีสถาน[52]
- เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.9 แมกนิจูด ในพม่า ห่างจากเมียวลิก ไปทางตะวันออกเฉียงใต้ 74 km (46 mi) เมื่อวันที่ 13 เมษายน ที่ความลึก 134.8 km (83.8 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ VI (แรง)[53] มีผู้เสียชีวิต 2 คน และมีผู้บาดเจ็บ 70 คนในรัฐอัสสัม อินเดีย[54] และมีผู้ได้รับบาดเจ็บในจิตตะกอง บังกลาเทศ 50 คน[55]
- เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.0 แมกนิจูด ในวานูอาตู ห่างจากพอร์ตออลรี ไปทางตะวันตกเฉียงเหนือ 86 km (53 mi) เมื่อวันที่ 14 เมษายน ที่ความลึก 10.0 km (6.2 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ VI (แรง)[56] โดยครั้งนี้เป็นแผ่นดินไหวตามของแผ่นดินไหว 6.9 ครั้งก่อน
- เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.2 แมกนิจูด ในญี่ปุ่น ห่างจากอุเอะกิ จังหวัดคุมะโมะโตะ ไปทางตะวันตกเฉียงใต้ 7 km (4.3 mi) เมื่อวันที่ 14 เมษายน ที่ความลึก 10.0 km (6.2 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ VIII (อย่างรุนแรง)[57] มีผู้เสียชีวิต 9 คน และอีก 800 คนได้รับบาดเจ็บ[58][59] บ้านเรือนอย่างน้อย 20 หลังรวมทั้งปราสาทคุมะโมะโตะเกิดการทรุดตัว ขณะที่กว่า 24,000 คน ถูกบังคับให้ไปอาศัยอยู่ในสถานที่อพยพ[60][61] แผ่นดินไหวครั้งนี้เป็นแผ่นดินไหวนำของแผ่นดินไหว 7.0
- เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.0 แมกนิจูด ในญี่ปุ่น ห่างจากอุโตะ จังหวัดคุมะโมะโตะ ไปทางตะวันออก 5 km (3.1 mi) เมื่อวันที่ 14 เมษายน ที่ความลึก 10.0 km (6.2 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ VII (แรงมาก)[62] แผ่นดินไหวครั้งนี้เป็นแผ่นดินไหวนำของแผ่นดินไหว 7.0
- เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.4 แมกนิจูด ในวานูอาตู ห่างจากพอร์ตออลรี ไปทางตะวันตกเฉียงเหนือ 95 km (59 mi) เมื่อวันที่ 14 เมษายน ที่ความลึก 16.0 km (9.9 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ VI (แรง)[63] โดยครั้งนี้เป็นแผ่นดินไหวตามของแผ่นดินไหว 6.9 ครั้งก่อน
- เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.1 แมกนิจูด ในชายฝั่งของกัวเตมาลา ห่างจากชามเปรีโก ไปทางตะวันตกเฉียงใต้กึ่งใต้ 105 km (65 mi) เมื่อวันที่ 15 เมษายน ที่ความลึก 25.0 km (15.5 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ IV (เบา)[64]
- เกิดแผ่นดินไหวขนาด 7.0 แมกนิจูด ในญี่ปุ่น ห่างจากเมืองคุมะโมะโตะ จังหวัดคุมะโมะโตะ ไปทางตะวันตกเฉียงใต้กึ่งตะวันตก 1 km (0.62 mi) เมื่อวันที่ 15 เมษายน ที่ความลึก 10.0 km (6.2 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ IX (ร้ายแรง)[65] มีผู้เสียชีวิต 32 คน และผู้ได้รับบาดเจ็บอีกประมาณ 1,000 คน บ้านเรือนหลายหลังถูกทำลายลง และเกิดสะพานทรุดตัวลงในเมืองอะโซะ[58]
- เกิดแผ่นดินไหวขนาด 7.8 แมกนิจูด ในเอกวาดอร์ ห่างจากมุยสเน ไปทางตะวันออกเฉียงใต้กึ่งใต้ 27 km (17 mi) เมื่อวันที่ 16 เมษายน ที่ความลึก 19.2 km (11.9 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ VIII (อย่างรุนแรง)[66] มีผู้เสียชีวิต 655 คน ผู้สูญหาย 48 คน และผู้บาดเจ็บ 4,600 คน อาคาร 7,000 หลังถูกทำลายหรือได้รับความเสียหาย[67]
- เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.2 แมกนิจูด ในเอกวาดอร์ ห่างจากมุยสเน ไปทางตะวันตกเฉียงเหนือกึ่งตะวันตก 19 km (12 mi) เมื่อวันที่ 20 เมษายน ที่ความลึก 14.8 km (9.2 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ VI (แรง)[68] แผ่นดินไหวครั้งนี้เป็นแผ่นดินไหวตามของแผ่นดินไหว 7.8
- เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.0 แมกนิจูด ในเอกวาดอร์ ห่างจากมุยสเน ไปทางตะวันออกเฉียงเหนือกึ่งเหนือ 12 km (7.5 mi) เมื่อวันที่ 20 เมษายน ที่ความลึก 10.0 km (6.2 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ VI (แรง)[69] แผ่นดินไหวครั้งนี้เป็นแผ่นดินไหวตามของแผ่นดินไหว 7.8
- เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.0 แมกนิจูด ในเอกวาดอร์ ห่างจากบาเยียเดการาเกซ ไปทางตะวันตกเฉียงเหนือกึ่งเหนือ 33 km (21 mi) เมื่อวันที่ 22 เมษายน ที่ความลึก 10.0 km (6.2 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ VI (แรง)[70] แผ่นดินไหวครั้งนี้เป็นแผ่นดินไหวตามของแผ่นดินไหว 7.8
- เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.0 แมกนิจูด ในเม็กซิโก ห่างจากปอร์โตมาเดโร รัฐเชียปัส ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้เฉตะวันตก 83 km (52 mi) เมื่อวันที่ 25 เมษายน ที่ความลึก 16.0 km (9.9 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ IV (เบา)[71]
- เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.0 แมกนิจูด ในเม็กซิโก ห่างจากปอร์โตมาเดโร รัฐเชียปัส ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้เฉตะวันตก 75 km (47 mi) เมื่อวันที่ 27 เมษายน ที่ความลึก 16.0 km (9.9 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ IV (เบา)[72]
- เกิดแผ่นดินไหวขนาด 7.0 แมกนิจูด ในวานูอาตู ห่างจากนอร์ซุป ไปทางตะวันออกเฉียงใต้ 1 km (0.62 mi) เมื่อวันที่ 28 เมษายน ที่ความลึก 27.2 km (16.9 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ VII (แรงมาก)[73]
- เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.6 แมกนิจูด ในจุดธารผุดแปซิฟิกตะวันออกตอนเหนือ เมื่อวันที่ 29 เมษายน ที่ความลึก 10.0 km (6.2 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ I (ไม่รู้สึก)[74]
- เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.6 แมกนิจูด ห่างจากเกาะกลีแปร์ตอน ดินแดนโพ้นทะเลในแปซิฟิกของฝรั่งเศส ไปทางตะวันออก 602 km (374 mi) เมื่อวันที่ 29 เมษายน ที่ความลึก 10.0 km (6.2 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ I (ไม่รู้สึก)[75]
พฤษภาคม
[แก้]แผ่นดินไหว รุนแรงที่สุด | 7.2 Mw เกาะเซาท์จอร์เจียและหมู่เกาะเซาท์แซนด์วิช |
---|---|
ผู้เสียชีวิตมากที่สุด | 6.9 Mw เอกวาดอร์ 1 คน |
ผู้เสียชีวิตทั้งหมด | 1 คน |
จำนวนตามแมกนิจูด | |
8.0−8.9 | 0 |
7.0−7.9 | 1 |
6.0−6.9 | 6 |
5.0−5.9 | 87 |
4.0−4.9 | 1,084 |
- เกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.2 แมกนิจูด ในจีน ห่างจากหมู่บ้าน Gyamotang เขตปกครองตนเองทิเบต ไปทางตะวันตกเฉียงเหนือ 66 km (41 mi) เมื่อวันที่ 11 พฤษภาคม ที่ความลึก 8.0 km (5.0 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ V (ปานกลาง)[76] มีรายงานผู้บาดเจ็บ 60 ราย ในจำนวนนี้บาดเจ็บสาหัส 6 ราย บ้านพังรวมทั้งสะพานและถนนเสียหายจากดินถล่ม[77]
- เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.7 แมกนิจูด ในเอกวาดอร์ ห่างจากมูอิสเน จังหวัดเอสเมรัลดัส ไปทางตะวันออกเฉียงใต้ 33 km (21 mi) เมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม ที่ความลึก 16.0 km (9.9 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ VII (แรงมาก)[78] มีรายงานไฟฟ้าดับในพื้นที่ใกล้จุดเหนือศูนย์กลาง[79] แผ่นดินไหวครั้งนี้ถือเป็นแผ่นดินไหวตามจากแผ่นดินไหวขนาด 7.8 เมื่อเดือนเมษายน
- เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.9 แมกนิจูด ในเอกวาดอร์ ห่างจากโรซาซาราเต จังหวัดเอสเมรัลดัส ไปทางตะวันตกเฉียงเหนือ 24 km (15 mi) เมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม ที่ความลึก 29.9 km (18.6 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ VII (แรงมาก)[80] มีรายงานผู้เสียชีวิต 1 คนในเมืองโตซากวา[81] แผ่นดินไหวครั้งนี้ถือเป็นแผ่นดินไหวตามจากแผ่นดินไหวขนาด 7.8 เมื่อเดือนเมษายน
- เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.0 แมกนิจูด ในออสเตรเลีย ห่างจากวอร์เบอร์ตัน รัฐเวสเทิร์นออสเตรเลีย ไปทางตะวันออก 337 km (209 mi) เมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม ที่ความลึก 10.0 km (6.2 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ VIII (อย่างรุนแรง)[82]
- เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.4 แมกนิจูด ในฟีจี ห่างจากเกาะโอโน-อี-เลา ไปทางตะวันออกเฉียงใต้กึ่งใต้ 18 km (11 mi) เมื่อวันที่ 27 พฤษภาคม ที่ความลึก 567.5 km (352.6 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ II (อ่อน)[83] แผ่นดินไหวครั้งนี้ถือเป็นแผ่นดินไหวนำของแผ่นดินไหวขนาด 6.9
- เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.9 แมกนิจูด ในฟีจี ห่างจากเกาะโอโน-อี-เลา ไปทางตะวันออกเฉียงใต้กึ่งใต้ 155 km (96 mi) เมื่อวันที่ 28 พฤษภาคม ที่ความลึก 405.7 km (252.1 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ III (อ่อน)[84]
- เกิดแผ่นดินไหวขนาด 7.2 แมกนิจูด นอกชายฝั่งเกาะเซาท์จอร์เจียและหมู่เกาะเซาท์แซนด์วิช ห่างจากเกาะวิโซโกย ไปทางตะวันออกเฉียงเหนือกึ่งเหนือ 53 km (33 mi) เมื่อวันที่ 28 พฤษภาคม ที่ความลึก 78.0 km (48.5 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ VI (แรง)[85]
- เกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.4 แมกนิจูด ในแอลจีเรีย ห่างจากเมืองลัคดาเรีย ไปทางตะวันตกเฉียงใต้กึ่งใต้ 16 km (9.9 mi) เมื่อวันที่ 29 พฤษภาคม ที่ความลึก 11.4 km (7.1 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ V (ปานกลาง)[86] มีรายงานบ้านและสิ่งปลูกสร้างพังทลายในพื้นที่ มีผู้บาดเจ็บ 28 ราย ในจำนวนนี้บาดเจ็บสาหัส 3 ราย[87]
- เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.4 แมกนิจูด นอกชายฝั่งไต้หวัน ห่างจากนครจีหลง ไปทางตะวันออกเฉียงเหนือกึ่งตะวันออก 94 km (58 mi) เมื่อวันที่ 31 พฤษภาคม ที่ความลึก 246.4 km (153.1 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ IV (เบา)[88]
มิถุนายน
[แก้]แผ่นดินไหว รุนแรงที่สุด | 6.6 Mw อินโดนีเซีย |
---|---|
ผู้เสียชีวิตมากที่สุด | 6.6 Mw อินโดนีเซีย 1 คน |
ผู้เสียชีวิตทั้งหมด | 1 คน |
จำนวนตามแมกนิจูด | |
8.0−8.9 | 0 |
7.0−7.9 | 0 |
6.0−6.9 | 15 |
5.0−5.9 | 111 |
4.0−4.9 | 1,149 |
- เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.6 แมกนิจูด ในอินโดนีเซีย ห่างจากเมืองซันไกเปนูห์ จังหวัดจัมบี ไปทางตะวันตก 79 km (49 mi) เมื่อวันที่ 1 มิถุนายน ที่ความลึก 50.0 km (31.1 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ VII (แรงมาก)[89] มีรายงานผู้เสียชีวิต 1 รายจากอาการหัวใจวายระหว่างเกิดแผ่นดินไหว มีผู้บาดเจ็บ 18 ราย และบ้านเรือนเสียหายมากกว่า 2,000 หลัง[90]
- เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.3 แมกนิจูด ในอินโดนีเซีย ห่างจากเมืองเลคซูลา จังหวัดมาลูกู ไปทางตะวันตกเฉียงใต้ 133 km (83 mi) เมื่อวันที่ 5 มิถุนายน ที่ความลึก 429.6 km (266.9 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ III (อ่อน)[91]
- เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.1 แมกนิจูด นอกชายฝั่งนิวซีแลนด์ ห่างจากเกาะราเอาล์ ไปทางใต้ 84 km (52 mi) เมื่อวันที่ 6 มิถุนายน ที่ความลึก 43.8 km (27.2 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ IV (เบา)[92]
- เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.3 แมกนิจูด นอกชายฝั่งเม็กซิโก ห่างจากเมืองซานปาตริซิโอ รัฐฮาลิสโก ไปทางตะวันตกเฉียงใต้กึ่งใต้ 106 km (66 mi) เมื่อวันที่ 7 มิถุนายน ที่ความลึก 10.0 km (6.2 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ IV (เบา)[93]
- เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.3 แมกนิจูด ในอินโดนีเซีย ห่างจากเมืองโกตาเตร์นาเต จังหวัดมาลูกูเหนือ ไปทางตะวันตกเฉียงเหนือกึ่งตะวันตก 123 km (76 mi) เมื่อวันที่ 7 มิถุนายน ที่ความลึก 31.0 km (19.3 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ VI (แรง)[94]
- เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.1 แมกนิจูด นอกชายฝั่งอินโดนีเซีย ห่างจากหมู่บ้านกูตา จังหวัดนูซาเติงการาตะวันตก ไปทางใต้ 260 km (160 mi) เมื่อวันที่ 9 มิถุนายน ที่ความลึก 19.0 km (11.8 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ III (อ่อน)[95]
- เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.1 แมกนิจูด ในนิการากัว ห่างจากเทศบาลปวยร์โตโมราซัน ไปทางตะวันออก 22 km (14 mi) เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน ที่ความลึก 10.0 km (6.2 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ VIII (อย่างรุนแรง)[96] มีรายงานบ้านเรือนเสียหายในเมืองชินันเดกา แต่ไม่มีผู้บาดเจ็บหรือเสียชีวิต[97]
- เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.2 แมกนิจูด ในหมู่เกาะโซโลมอน ห่างจากเมืองเอากิ ไปทางตะวันตกเฉียงเหนือกึ่งตะวันตก 18 km (11 mi) เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน ที่ความลึก 30.4 km (18.9 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ VI (แรง)[98]
- เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.2 แมกนิจูด ในวานูอาตู ห่างจากเมืองอิซันเกล ไปทางตะวันตกเฉียงเหนือกึ่งเหนือ 98 km (61 mi) เมื่อวันที่ 14 มิถุนายน ที่ความลึก 111.0 km (69.0 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ IV (เบา)[99]
- เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.3 แมกนิจูด นอกชายฝั่งวานูอาตู ห่างจากเมืองอิซันเกล ไปทางตะวันตกเฉียงใต้กึ่งใต้ 83 km (52 mi) เมื่อวันที่ 19 มิถุนายน ที่ความลึก 13.0 km (8.1 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ V (ปานกลาง)[100]
- เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.0 แมกนิจูด นอกชายฝั่งวานูอาตู ห่างจากเมืองอิซันเกล ไปทางตะวันตกเฉียงใต้ 90 km (56 mi) เมื่อวันที่ 20 มิถุนายน ที่ความลึก 15.0 km (9.3 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ IV (เบา)[101] แผ่นดินไหวครั้งนี้ถือเป็นแผ่นดินไหวตามจากแผ่นดินไหวขนาด 6.3 เมื่อวันที่ 19
- เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.1 แมกนิจูด บริเวณเทือกเขากลางสมุทรแอตแลนติกเหนือ เมื่อวันที่ 21 มิถุนายน ที่ความลึก 10.0 km (6.2 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ I (ไม่รู้สึก)[102]
- เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.3 แมกนิจูด ในปาปัวนิวกินี ห่างจากเมืองนามาตาไน จังหวัดนิวไอร์แลนด์ ไปทางตะวันตกเฉียงเหนือกึ่งตะวันตก 67 km (42 mi) เมื่อวันที่ 21 มิถุนายน ที่ความลึก 354.0 km (220.0 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ III (อ่อน)[103]
- เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.4 แมกนิจูด ในคีร์กีซสถาน ห่างจากชุมชนสารี-ทัช จังหวัดออช ไปทางตะวันออกเฉียงใต้กึ่งใต้ 28 km (17 mi) เมื่อวันที่ 26 มิถุนายน ที่ความลึก 13.0 km (8.1 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ VII (แรงมาก)[104]
- เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.0 แมกนิจูด ในวานูอาตู ห่างจากเมืองลากาโตโร ไปทางตะวันออกเฉียงเหนือ 8 km (5.0 mi) เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน ที่ความลึก 27.0 km (16.8 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ V (ปานกลาง)[105]
กรกฎาคม
[แก้]แผ่นดินไหว รุนแรงที่สุด | 7.7 Mw หมู่เกาะนอร์เทิร์นมาเรียนา |
---|---|
ผู้เสียชีวิตมากที่สุด | 6.3 Mw เอกวาดอร์ 2 คน |
ผู้เสียชีวิตทั้งหมด | 2 คน |
จำนวนตามแมกนิจูด | |
8.0−8.9 | 0 |
7.0−7.9 | 1 |
6.0−6.9 | 6 |
5.0−5.9 | 119 |
4.0−4.9 | 1,044 |
- เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.0 แมกนิจูด นอกชายฝั่งตองงา ห่างจากหมู่บ้านไฮไฮโฟ ไปทางตะวันออกเฉียงเหนือกึ่งเหนือ 111 km (69 mi) เมื่อวันที่ 10 กรกฎาคม ที่ความลึก 10.0 km (6.2 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ IV (เบา)[106]
- เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.3 แมกนิจูด ในเอกวาดอร์ ห่างจากเมืองโรซาซาราเต จังหวัดเอสเมรัลดัส ไปทางตะวันตกเฉียงเหนือ 33 km (21 mi) เมื่อวันที่ 11 กรกฎาคม ที่ความลึก 21.0 km (13.0 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ VI (แรง)[107] มีรายงานผู้เสียชีวิต 2 ราย[108]
- เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.3 แมกนิจูด ในนิวซีแลนด์ ห่างจากเกาะราเอาล์ ไปทางตะวันออกเฉียงเหนือ 200 km (120 mi) เมื่อวันที่ 13 กรกฎาคม ที่ความลึก 10.0 km (6.2 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ III (อ่อน)[109]
- เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.1 แมกนิจูด ในวานูอาตู ห่างจากเมืองอิซันเกล ไปทางตะวันตกเฉียงเหนือกึ่งเหนือ 70 km (43 mi) เมื่อวันที่ 20 กรกฎาคม ที่ความลึก 174.0 km (108.1 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ IV (เบา)[110]
- เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.1 แมกนิจูด ในชิลี ห่างจากเมืองดิเอโกเดอัลมาโกร ไปทางตะวันตกเฉียงเหนือ 53 km (33 mi) เมื่อวันที่ 25 กรกฎาคม ที่ความลึก 71.5 km (44.4 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ V (ปานกลาง)[111]
- เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.4 แมกนิจูด ในปาปัวนิวกินี ห่างจากเมืองลอเรนเกา ไปทางตะวันออกเฉียงใต้ 128 km (80 mi) เมื่อวันที่ 25 กรกฎาคม ที่ความลึก 7.3 km (4.5 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ V (ปานกลาง)[112]
- เกิดแผ่นดินไหวขนาด 7.7 แมกนิจูด นอกชายฝั่งหมู่เกาะนอร์เทิร์นมาเรียนาของสหรัฐอเมริกา ห่างจากเกาะอากริฮัน ไปทางตะวันตกเฉียงใต้กึ่งใต้ 28 km (17 mi) เมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม ที่ความลึก 207.6 km (129.0 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ VI (แรง)[113]
สิงหาคม
[แก้]แผ่นดินไหว รุนแรงที่สุด | 7.4 Mw เกาะเซาท์จอร์เจียและหมู่เกาะเซาท์แซนด์วิช |
---|---|
ผู้เสียชีวิตมากที่สุด | 6.2 Mw อิตาลี 299 คน |
ผู้เสียชีวิตทั้งหมด | 309 คน |
จำนวนตามแมกนิจูด | |
8.0−8.9 | 0 |
7.0−7.9 | 3 |
6.0−6.9 | 10 |
5.0−5.9 | 140 |
4.0−4.9 | 1,236 |
- เกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.0 แมกนิจูด ในอาเซอร์ไบจาน ห่างจากเมืองอิมิชลี ไปทางตะวันตกเฉียงเหนือ 12 km (7.5 mi) เมื่อวันที่ 1 สิงหาคม ที่ความลึก 16.0 km (9.9 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ V (ปานกลาง)[114] มีรายงานผู้เสียชีวิต 1 คนจากอาการหัวใจวายระหว่างเกิดแผ่นดินไหวในเมืองปาร์ซาบัด ทางตะวันตกเฉียงเหนือของอิหร่าน[115]
- เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.2 แมกนิจูด ในอาร์เจนตินา ห่างจากเมืองอะบราปัมปา ไปทางตะวันตกเฉียงเหนือ 53 km (33 mi) เมื่อวันที่ 4 สิงหาคม ที่ความลึก 270.0 km (167.8 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ IV (เบา)[116]
- เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.3 แมกนิจูด นอกชายฝั่งญี่ปุ่น ห่างจากเกาะอิโวจิมา ไปทางตะวันออกเฉียงเหนือกึ่งตะวันออก 70 km (43 mi) เมื่อวันที่ 4 สิงหาคม ที่ความลึก 510.0 km (316.9 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ II (อ่อน)[117]
- เกิดแผ่นดินไหวขนาด 7.2 แมกนิจูด นอกชายฝั่งนิวแคลิโดเนีย ดินแดนโพ้นทะเลของฝรั่งเศส ห่างจากเกาะฮันเทอร์ ไปทางตะวันออก 109 km (68 mi) เมื่อวันที่ 12 สิงหาคม ที่ความลึก 9.9 km (6.2 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ I (ไม่รู้สึก)[118]
- เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.1 แมกนิจูด นอกชายฝั่งตองงา ห่างจากพืดหินมิเนอร์วา ไปทางตะวันออกเฉียงใต้ 225 km (140 mi) เมื่อวันที่ 12 สิงหาคม ที่ความลึก 112.9 km (70.2 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ I (ไม่รู้สึก)[119]
- เกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.5 แมกนิจูด ในเปรู ห่างจากยูตา ไปทางเหนือ 39 km (24 mi) เมื่อวันที่ 15 สิงหาคม ที่ความลึก 20.0 km (12.4 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ VI (แรง)[120] มีรายงานผู้เสียชีวิต 5 คน ในจำนวนนี้มีนักท่องเที่ยวชาวอเมริกัน 1 คน และบาดเจ็บอย่างน้อย 40 คน[121]
- เกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.7 แมกนิจูด ในออสเตรเลีย ห่างจากเมืองโบเวน รัฐควีนส์แลนด์ ไปทางตะวันออกเฉียงเหนือกึ่งตะวันออก 54 km (34 mi) เมื่อวันที่ 18 สิงหาคม ที่ความลึก 7.8 km (4.8 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ VI (แรง)[122] นับเป็นแผ่นดินไหวที่มีแมกนิจูดสูงสุดในรอบ 20 ปีในรัฐควีนส์แลนด์ มีรายงานความเสียหายเล็กน้อย และมีการอพยพผู้คนในสนามบินบางแห่ง[123]
- เกิดแผ่นดินไหวขนาด 7.4 แมกนิจูด นอกชายฝั่งเกาะเซาท์จอร์เจียและหมู่เกาะเซาท์แซนด์วิช ห่างจากเกาะเซาท์จอร์เจีย ไปทางตะวันออกเฉียงใต้กึ่งตะวันออก 240 km (150 mi) เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม ที่ความลึก 10.0 km (6.2 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ I (ไม่รู้สึก)[124]
- เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.0 แมกนิจูด นอกชายฝั่งญี่ปุ่น ห่างจากเมืองมิยะโกะ จังหวัดอิวะเตะ ไปทางตะวันออกเฉียงเหนือกึ่งตะวันออก 167 km (104 mi) เมื่อวันที่ 20 สิงหาคม ที่ความลึก 10.0 km (6.2 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ IV (เบา)[125]
- เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.0 แมกนิจูด นอกชายฝั่งญี่ปุ่น ห่างจากเมืองมิยะโกะ จังหวัดอิวะเตะ ไปทางตะวันออกเฉียงเหนือกึ่งตะวันออก 170 km (110 mi) เมื่อวันที่ 20 สิงหาคม ที่ความลึก 10.0 km (6.2 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ IV (เบา)[126] แผ่นดินไหวครั้งนี้ถือเป็นแผ่นดินไหวตามจากแผ่นดินไหวขนาด 6.0 ที่เกิดขึ้นก่อนหน้าในวันเดียวกัน
- เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.1 แมกนิจูด นอกชายฝั่งเกาะเซาท์จอร์เจียและหมู่เกาะเซาท์แซนด์วิช ห่างจากเกาะเซาท์จอร์เจีย ไปทางตะวันออกเฉียงใต้กึ่งตะวันออก 240 km (150 mi) เมื่อวันที่ 21 สิงหาคม ที่ความลึก 12.0 km (7.5 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ I (ไม่รู้สึก)[127] แผ่นดินไหวครั้งนี้ถือเป็นแผ่นดินไหวตามจากแผ่นดินไหวขนาด 7.4 เมื่อวันที่ 19
- เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.0 แมกนิจูด ในอินโดนีเซีย ห่างจากเนเบ จังหวัดนูซาเติงการาตะวันออก ไปทางเหนือ 132 km (82 mi) เมื่อวันที่ 23 สิงหาคม ที่ความลึก 528.2 km (328.2 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ II (อ่อน)[128]
- เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.2 แมกนิจูด ในอิตาลี ห่างจากเมืองนอร์จา ไปทางตะวันออกเฉียงใต้ 10 km (6.2 mi) เมื่อวันที่ 24 สิงหาคม ที่ความลึก 5.1 km (3.2 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ IX (ร้ายแรง)[129] ทำให้มีผู้เสียชีวิต 299 คน บาดเจ็บ 388 คน เกิดความเสียหายอย่างหนักในพื้นที่รอบจุดเหนือศูนย์เกิดแผ่นดินไหว โดยเฉพาะในเมืองอมาตรีเช[130][131]
- เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.8 แมกนิจูด ในพม่า ห่างจากเมืองเชาะ ไปทางตะวันตก 25 km (16 mi) เมื่อวันที่ 24 สิงหาคม ที่ความลึก 84.1 km (52.3 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ VI (แรง)[132] มีรายงานผู้เสียชีวิต 4 คน บาดเจ็บ 20 คน และทำให้เจดีย์จำนวนมากในพุกามพังทลาย[133]
- เกิดแผ่นดินไหวขนาด 7.1 แมกนิจูด นอกชายฝั่งเกาะอัสเซนชัน ห่างจากเกาะไปทางตะวันตกเฉียงเหนือกึ่งเหนือ 980 km (610 mi) เมื่อวันที่ 29 สิงหาคม ที่ความลึก 10.0 km (6.2 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ I (ไม่รู้สึก)[134]
- เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.8 แมกนิจูด ในปาปัวนิวกินี ห่างจากเมืองนามาตาไน จังหวัดนิวไอร์แลนด์ ไปทางตะวันออก 39 km (24 mi) เมื่อวันที่ 31 สิงหาคม ที่ความลึก 476.0 km (295.8 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ III (อ่อน)[135]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ แบบรายงานสดแผ่นดินไหวและวันที่แน่นอนพร้อมด้วยแผนที่แผ่นดินไหวแบบเรียลไทม์ของ USGS
- ↑ "M6.3 - Western Indian-Antarctic Ridge". สำนักสำรวจธรณีวิทยาสหรัฐอเมริกา. January 1, 2016. สืบค้นเมื่อ January 1, 2016.
- ↑ "M6.7 - 30km W of Imphal, India". สำนักสำรวจธรณีวิทยาสหรัฐอเมริกา. January 3, 2015. สืบค้นเมื่อ January 3, 2015.
- ↑ "Quake strikes northeast India, Bangladesh; 11 dead, nearly 200 hurt". Associated Press. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-09-12. สืบค้นเมื่อ January 4, 2016.
- ↑ "M6.0 - Pacific-Antarctic Ridge". สำนักสำรวจธรณีวิทยาสหรัฐอเมริกา. January 5, 2016. สืบค้นเมื่อ February 20, 2016.
- ↑ "M6.5 - 227km SE of Sarangani, Philippines". สำนักสำรวจธรณีวิทยาสหรัฐอเมริกา. January 11, 2016. สืบค้นเมื่อ January 11, 2016.
- ↑ "M6.2 - 74km NW of Rumoi, Japan". สำนักสำรวจธรณีวิทยาสหรัฐอเมริกา. January 11, 2016. สืบค้นเมื่อ January 11, 2016.
- ↑ "M6.1 - 12km WNW of Charagua, Bolivia". สำนักสำรวจธรณีวิทยาสหรัฐอเมริกา. January 14, 2016. สืบค้นเมื่อ January 14, 2016.
- ↑ "M6.7 - 52km SE of Shizunai, Japan". สำนักสำรวจธรณีวิทยาสหรัฐอเมริกา. January 14, 2016. สืบค้นเมื่อ January 15, 2016.
- ↑ "M5.6 - 69km SSE of Namlea, Indonesia". สำนักสำรวจธรณีวิทยาสหรัฐอเมริกา. January 16, 2016. สืบค้นเมื่อ January 17, 2016.
- ↑ "Indonesia earthquake injures eight, damages houses". Agence France Presse. January 17, 2016. สืบค้นเมื่อ January 17, 2016.
- ↑ "M5.9 - 70km ESE of Hongtu, China". สำนักสำรวจธรณีวิทยาสหรัฐอเมริกา. January 20, 2016. สืบค้นเมื่อ January 24, 2016.
- ↑ "Nine Injured in N.W. China Quake". Xinhua. January 21, 2016. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-02-03. สืบค้นเมื่อ January 24, 2016.
- ↑ "M6.6 - 215km SW of Tomatlan, Mexico". สำนักสำรวจธรณีวิทยาสหรัฐอเมริกา. January 21, 2016. สืบค้นเมื่อ January 24, 2016.
- ↑ "M7.1 - 86km E of Old Iliamna, Alaska". สำนักสำรวจธรณีวิทยาสหรัฐอเมริกา. January 24, 2016. สืบค้นเมื่อ February 6, 2016.
- ↑ "Red Cross sends team to Kenai to assist families affected by 7.1 earthquake". January 24, 2016. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-01-24. สืบค้นเมื่อ January 24, 2016.
- ↑ "M6.3 - 50km NNE of Al Hoceima, Morocco". สำนักสำรวจธรณีวิทยาสหรัฐอเมริกา. January 25, 2016. สืบค้นเมื่อ January 25, 2016.
- ↑ "Streets littered with rubble as 6.1 quake strikes off coasts of Spain, Morocco (VIDEO)". RT. January 25, 2016. สืบค้นเมื่อ January 26, 2016.
- ↑ "M6.1 - 94km SSE of Taron, Papua New Guinea". สำนักสำรวจธรณีวิทยาสหรัฐอเมริกา. January 26, 2016. สืบค้นเมื่อ March 6, 2016.
- ↑ "M7.2 - 88km N of Yelizovo, Russia". สำนักสำรวจธรณีวิทยาสหรัฐอเมริกา. January 30, 2016. สืบค้นเมื่อ January 30, 2016.
- ↑ "M6.1 - Balleny Islands region". สำนักสำรวจธรณีวิทยาสหรัฐอเมริกา. January 31, 2016. สืบค้นเมื่อ January 31, 2016.
- ↑ "M6.2 - 124km NW of L'Esperance Rock, New Zealand". สำนักสำรวจธรณีวิทยาสหรัฐอเมริกา. February 1, 2016. สืบค้นเมื่อ February 1, 2016.
- ↑ "M 6.4 - 24km SE of Yujing, Taiwan". สำนักสำรวจธรณีวิทยาสหรัฐอเมริกา. February 6, 2016. สืบค้นเมื่อ February 14, 2016.
- ↑ "Multiple buildings collapse, casualties unknown in 6.4 quake in Taiwan". RT. February 6, 2016. สืบค้นเมื่อ February 6, 2016.
- ↑ "Body of last victim of apartment collapse in Tainan found". Focus Taiwan. February 18, 2016. สืบค้นเมื่อ February 18, 2016.
- ↑ Huang Kuo-fang and Elizabeth Hsu. "Remains of last unaccounted-for quake victim found". Focus Taiwan.
- ↑ "M6.4 - 88km WSW of Panguna, Papua New Guinea". สำนักสำรวจธรณีวิทยาสหรัฐอเมริกา. February 8, 2016. สืบค้นเมื่อ February 8, 2016.
- ↑ "M6.3 - 36km W of Ovalle, Chile". สำนักสำรวจธรณีวิทยาสหรัฐอเมริกา. February 10, 2016. สืบค้นเมื่อ February 10, 2016.
- ↑ "M6.3 - 0km W of Komerda, Indonesia". สำนักสำรวจธรณีวิทยาสหรัฐอเมริกา. February 12, 2016. สืบค้นเมื่อ February 12, 2016.
- ↑ "M5.8 - 11km ENE of Christchurch, New Zealand". สำนักสำรวจธรณีวิทยาสหรัฐอเมริกา. February 14, 2016. สืบค้นเมื่อ February 14, 2016.
- ↑ "Christchurch hit by severe earthquake". February 14, 2016. สืบค้นเมื่อ February 14, 2016.
- ↑ "M6.0 - 32km WNW of Nuku`alofa, Tonga". สำนักสำรวจธรณีวิทยาสหรัฐอเมริกา. February 15, 2016. สืบค้นเมื่อ March 10, 2016.
- ↑ "M6.1 - Southern East Pacific Rise". สำนักสำรวจธรณีวิทยาสหรัฐอเมริกา. February 17, 2016. สืบค้นเมื่อ February 17, 2016.
- ↑ "M6.0 - 151km SE of Tobelo, Indonesia". สำนักสำรวจธรณีวิทยาสหรัฐอเมริกา. February 17, 2016. สืบค้นเมื่อ February 17, 2016.
- ↑ "M6.0 - 105km WSW of Coquimbo, Chile". สำนักสำรวจธรณีวิทยาสหรัฐอเมริกา. February 22, 2016. สืบค้นเมื่อ April 6, 2016.
- ↑ "M6.1 - Western Pacific-Antarctic Ridge". สำนักสำรวจธรณีวิทยาสหรัฐอเมริกา. February 27, 2016. สืบค้นเมื่อ March 21, 2016.
- ↑ "M7.8 - Southwest of Sumatra, Indonesia". สำนักสำรวจธรณีวิทยาสหรัฐอเมริกา. March 2, 2016. สืบค้นเมื่อ March 2, 2016.
- ↑ "M6.3 - 71km S of Atka, Alaska". สำนักสำรวจธรณีวิทยาสหรัฐอเมริกา. March 12, 2016. สืบค้นเมื่อ March 12, 2016.
- ↑ "M6.0 - 76km S of Atka, Alaska". สำนักสำรวจธรณีวิทยาสหรัฐอเมริกา. March 19, 2016. สืบค้นเมื่อ March 19, 2016.
- ↑ "M6.0 - 124km ENE of Codrington, Barbuda". สำนักสำรวจธรณีวิทยาสหรัฐอเมริกา. March 19, 2016. สืบค้นเมื่อ March 19, 2016.
- ↑ "M6.4 - 211km S of Ust'-Kamchatsk Staryy, Russia". สำนักสำรวจธรณีวิทยาสหรัฐอเมริกา. March 20, 2016. สืบค้นเมื่อ March 20, 2016.
- ↑ "M6.0 - 56km SE of Shingu, Japan". สำนักสำรวจธรณีวิทยาสหรัฐอเมริกา. April 1, 2016. สืบค้นเมื่อ April 1, 2016.
- ↑ "M6.2 - 123km NE of Angoram, Papua New Guinea". สำนักสำรวจธรณีวิทยาสหรัฐอเมริกา. April 1, 2016. สืบค้นเมื่อ April 6, 2016.
- ↑ "M6.2 - 100km NNE of Chignik Lake, Alaska". สำนักสำรวจธรณีวิทยาสหรัฐอเมริกา. April 2, 2016. สืบค้นเมื่อ April 2, 2016.
- ↑ "M6.9 - 81km NNW of Port-Olry, Vanuatu". สำนักสำรวจธรณีวิทยาสหรัฐอเมริกา. April 3, 2016. สืบค้นเมื่อ April 3, 2016.
- ↑ "M6.7 - 105km WSW of Sola, Vanuatu". สำนักสำรวจธรณีวิทยาสหรัฐอเมริกา. April 6, 2016. สืบค้นเมื่อ April 6, 2016.
- ↑ "M6.0 - 68km SSW of Bunisari, Indonesia". สำนักสำรวจธรณีวิทยาสหรัฐอเมริกา. April 6, 2016. สืบค้นเมื่อ April 6, 2016.
- ↑ "M6.7 - 106km W of Sola, Vanuatu". สำนักสำรวจธรณีวิทยาสหรัฐอเมริกา. April 7, 2016. สืบค้นเมื่อ April 7, 2016.
- ↑ "M4.1 - 9km SSW of Patan, Nepal". สำนักสำรวจธรณีวิทยาสหรัฐอเมริกา. April 10, 2016. สืบค้นเมื่อ April 13, 2016.
- ↑ "Earthquake magnitude 4.5 struck Nepal". Xinhua News Agency. April 9, 2016. สืบค้นเมื่อ April 9, 2016.
- ↑ "M6.6 - 39km WSW of Ashkasham, Afghanistan". สำนักสำรวจธรณีวิทยาสหรัฐอเมริกา. April 10, 2016. สืบค้นเมื่อ April 10, 2016.
- ↑ "At Least 6 Killed, 46 Injured in Pakistan by Afghanistan Earthquake". LAHT. April 11, 2016. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-04-23. สืบค้นเมื่อ April 11, 2016.
- ↑ "M6.9 - 74km SE of Mawlaik, Burma". สำนักสำรวจธรณีวิทยาสหรัฐอเมริกา. April 13, 2016. สืบค้นเมื่อ April 13, 2016.
- ↑ "Assam: At least two killed, 70 injured in earthquake". dnaindia.com. DNA India. สืบค้นเมื่อ 14 April 2016.
- ↑ "Earthquake: 50 hurt, 4 buildings tilt in Ctg". The Daily Star. April 13, 2016. สืบค้นเมื่อ April 13, 2016.
- ↑ "M6.0 - 86km NW of Port-Olry, Vanuatu". สำนักสำรวจธรณีวิทยาสหรัฐอเมริกา. April 14, 2016. สืบค้นเมื่อ April 14, 2016.
- ↑ "M6.2 - 7km SW of Ueki, Japan". สำนักสำรวจธรณีวิทยาสหรัฐอเมริกา. April 14, 2016. สืบค้นเมื่อ April 14, 2016.
- ↑ 58.0 58.1 "26 new fatalities as more quakes hit Kyushu; 900 or so injured". Asahi. April 16, 2016. สืบค้นเมื่อ April 16, 2016.
- ↑ "Strong 7.3 quake hits Japan just a day after smaller tremor kills 10". Weather.com. April 14, 2016. สืบค้นเมื่อ April 14, 2016.
- ↑ "6.2 Magnitude Earthquake Hits Southern Japan, Killing 2; Homes Collapse, 45 Injured". Associated Press. April 15, 2016. สืบค้นเมื่อ April 16, 2016.
- ↑ "9 dead, over 1,000 injured in Kyushu quake ‹ Japan Today: Japan News and Discussion". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-04-15. สืบค้นเมื่อ 2016-04-18.
- ↑ "M6.0 - 5km E of Uto, Japan". สำนักสำรวจธรณีวิทยาสหรัฐอเมริกา. April 14, 2016. สืบค้นเมื่อ April 14, 2016.
- ↑ "M6.4 - 95km NW of Port-Olry, Vanuatu". สำนักสำรวจธรณีวิทยาสหรัฐอเมริกา. April 14, 2016. สืบค้นเมื่อ April 15, 2016.
- ↑ "M6.1 - 105km SSW of Champerico, Guatemala". สำนักสำรวจธรณีวิทยาสหรัฐอเมริกา. April 15, 2016. สืบค้นเมื่อ April 15, 2016.
- ↑ "M7.0 - 1km WSW of Kumamoto-shi, Japan". สำนักสำรวจธรณีวิทยาสหรัฐอเมริกา. April 15, 2016. สืบค้นเมื่อ April 15, 2016.
- ↑ "M7.8 - 27km SSE of Muisne, Ecuador". สำนักสำรวจธรณีวิทยาสหรัฐอเมริกา. April 16, 2016. สืบค้นเมื่อ April 17, 2016.
- ↑ "INFORMES DE SITUACIÓN ACTUAL – TERREMOTO MAGNITUD 7.8" (ภาษาสเปน). Secretaría de Gestión de Riesgos. April 16, 2016. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-06-04. สืบค้นเมื่อ April 20, 2016.
- ↑ "M6.2 - 19km WNW of Muisne, Ecuador". สำนักสำรวจธรณีวิทยาสหรัฐอเมริกา. April 20, 2016. สืบค้นเมื่อ April 20, 2016.
- ↑ "M6.0 - 12km NNE of Muisne, Ecuador". สำนักสำรวจธรณีวิทยาสหรัฐอเมริกา. April 20, 2016. สืบค้นเมื่อ April 20, 2016.
- ↑ "M6.0 - 33km NNW of Bahia de Caraquez, Ecuador". สำนักสำรวจธรณีวิทยาสหรัฐอเมริกา. April 22, 2016. สืบค้นเมื่อ April 22, 2016.
- ↑ "M6.0 - 83km WSW of Puerto Madero, Mexico". สำนักสำรวจธรณีวิทยาสหรัฐอเมริกา. April 25, 2016. สืบค้นเมื่อ June 8, 2016.
- ↑ "M6.0 - 75km WSW of Puerto Madero, Mexico". สำนักสำรวจธรณีวิทยาสหรัฐอเมริกา. April 27, 2016. สืบค้นเมื่อ June 8, 2016.
- ↑ "M7.0 - 1km SE of Norsup, Vanuatu". สำนักสำรวจธรณีวิทยาสหรัฐอเมริกา. April 28, 2016. สืบค้นเมื่อ April 29, 2016.
- ↑ "M6.6 - Northern East Pacific Rise". สำนักสำรวจธรณีวิทยาสหรัฐอเมริกา. April 29, 2016. สืบค้นเมื่อ April 29, 2016.
- ↑ "M6.6 - Northern East Pacific Rise". สำนักสำรวจธรณีวิทยาสหรัฐอเมริกา. April 29, 2016. สืบค้นเมื่อ April 29, 2016.
- ↑ "M5.2 - 66km NW of Gyamotang, China". United States Geological Survey. May 11, 2016.
- ↑ "Shallow quake hits Tibet, causes landslide". SBS News. Australian Associated Press. May 11, 2016.
- ↑ "M6.7 - 33km SE of Muisne, Ecuador". United States Geological Survey. May 18, 2016.
- ↑ Gonzalo Solano; Joshua Goodman; Al Clendenning (May 18, 2016). "Magnitude-6.7 earthquake reported in Ecuador". Quito: CTV News. Associated Press.
- ↑ "M6.9 - 24km NW of Rosa Zarate, Ecuador". United States Geological Survey. May 18, 2016.
- ↑ Alexandra Valencia; Andrew Cawthorne (May 18, 2016). "Ecuador coast hit by two earthquakes; one dead". Quito: Reuters Canada. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-06-10. สืบค้นเมื่อ May 18, 2016.
- ↑ "M6.0 - Northern Territory, Australia". United States Geological Survey. May 20, 2016.
- ↑ "M6.4 - 18km SSE of Ndoi Island, Fiji". United States Geological Survey. May 27, 2016.
- ↑ "M6.9 - 155km SSE of Ndoi Island, Fiji". United States Geological Survey. May 28, 2016.
- ↑ "M7.2 - 53km NNE of Visokoi Island, South Georgia and the South Sandwich Islands". United States Geological Survey. May 28, 2016.
- ↑ "M5.4 - 16km SSW of Lakhdaria, Algeria". United States Geological Survey. May 29, 2016.
- ↑ "5.3 magnitude earthquake injures 28 people in Algeria's Medea". Africanews. May 30, 2016.
- ↑ "M6.4 - 94km ENE of Keelung, Taiwan". United States Geological Survey. May 31, 2016.
- ↑ "M6.6 - 79km W of Sungaipenuh, Indonesia". United States Geological Survey. June 2, 2016.
- ↑ "2,663 houses damaged in June 2 quake". Jakarta: Antara News. June 5, 2016.
- ↑ "M6.3 - 133km SW of Leksula, Indonesia". United States Geological Survey. June 5, 2016.
- ↑ "M6.1 - 84km S of Raoul Island, New Zealand". United States Geological Survey. June 6, 2016.
- ↑ "M6.3 - 106km SSW of San Patricio, Mexico". United States Geological Survey. June 8, 2016.
- ↑ "M6.3 - 123km WNW of Kota Ternate, Indonesia". United States Geological Survey. June 8, 2016.
- ↑ "M6.2 - 284km S of Kute, Indonesia". United States Geological Survey. June 9, 2016.
- ↑ "M6.1 - 22km E of Puerto Morazan, Nicaragua". United States Geological Survey. June 10, 2016. สืบค้นเมื่อ June 10, 2016.
- ↑ Grafica, La Prensa. "Sismo de 6.1 en Nicaragua deja al menos once casas dañadas". La Prensa Gráfica. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-11-28. สืบค้นเมื่อ 2016-11-24.
- ↑ "M6.2 - 18km WNW of Auki, Solomon Islands". United States Geological Survey. June 10, 2016.
- ↑ "M6.2 - 98km NNW of Isangel, Vanuatu". United States Geological Survey. June 14, 2016.
- ↑ "M6.3 - 83km SSW of Isangel, Vanuatu". United States Geological Survey. June 19, 2016.
- ↑ "M6.0 - 90km SW of Isangel, Vanuatu". United States Geological Survey. June 20, 2016.
- ↑ "M6.1 - Northern Mid-Atlantic Ridge". United States Geological Survey. June 21, 2016.
- ↑ "M6.3 - 67km WNW of Namatanai, Papua New Guinea". United States Geological Survey. June 21, 2016.
- ↑ "M6.4 - 28km SSE of Sary-Tash, Kyrgyzstan". United States Geological Survey. June 26, 2016.
- ↑ "M6.0 - 8km NE of Lakatoro, Vanuatu". United States Geological Survey. June 30, 2016.
- ↑ "M6.0 - 111km NNE of Hihifo, Tonga". United States Geological Survey. July 10, 2016.
- ↑ "M6.3 - 33km NW of Rosa Zarate, Ecuador". United States Geological Survey. July 11, 2016.
- ↑ "Sismos y estado de excepción siguen; hubo dos muertos" (ภาษาสเปน). El universo. July 12, 2016.
- ↑ "M6.3 - 200km NE of Raoul Island, New Zealand". United States Geological Survey. July 13, 2016.
- ↑ "M6.1 - 70km NNW of Isangel, Vanuatu". United States Geological Survey. July 20, 2016.
- ↑ "M6.1 - 53km NW of Diego de Almagro, Chile". United States Geological Survey. July 25, 2016.
- ↑ "M6.4 - 128km SE of Lorengau, Papua New Guinea". United States Geological Survey. July 25, 2016.
- ↑ "M7.7 - 28km SSW of Agrihan, Northern Mariana Islands". United States Geological Survey. July 29, 2016.
- ↑ "M5.0 - 12km NW of Imishli, Azerbaijan". United States Geological Survey. August 1, 2016.
- ↑ "Man in Iran dead as a result of quake in Azerbaijan". Trend News Agency. August 1, 2016. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-09-04. สืบค้นเมื่อ 2016-11-25.
- ↑ "M6.2 - 53km NW of Abra Pampa, Argentina". United States Geological Survey. August 4, 2016.
- ↑ "M6.3 - 70km ENE of Iwo Jima, Japan". United States Geological Survey. August 4, 2016.
- ↑ "M7.2 - 109km E of Ile Hunter, New Caledonia". United States Geological Survey. August 12, 2016.
- ↑ "M6.1 - South of the Fiji Islands". United States Geological Survey. August 12, 2016.
- ↑ "M5.5 - 39km N of Lluta, Peru". United States Geological Survey. August 15, 2016.
- ↑ "Sismo en Arequipa: aumentan a 5 los fallecidos en Caylloma" (ภาษาสเปน). DiarioCorreo.pe. August 17, 2016.
- ↑ "M5.7 - 54km ENE of Bowen, Australia". United States Geological Survey. August 18, 2016.
- ↑ Smith, Rohan (August 18, 2016). "Earthquake felt in North Queensland was 5.8 magnitude". News.com.au.
- ↑ "M7.4 - South Georgia Islands region". United States Geological Survey. August 19, 2016.
- ↑ "M6.0 - 167km ENE of Miyako, Japan". United States Geological Survey. August 20, 2016.
- ↑ "M6.0 - 170km ENE of Miyako, Japan". United States Geological Survey. August 20, 2016.
- ↑ "M6.1 - South Georgia Island region". United States Geological Survey. August 21, 2016.
- ↑ "M6.0 - 132km N of Nebe, Indonesia". United States Geological Survey. August 24, 2016.
- ↑ "M6.2 - 10km SE of Norcia, Italy". United States Geological Survey. August 24, 2016.
- ↑ "Terremoto nell'Italia centrale. È morta una donna ricoverata: le vittime sono 299" (ภาษาอิตาลี). Rai News24. November 15, 2016.
- ↑ "Amatrice: morto anziano rimasto ferito, vittime salgono a 298". L'Impronta L'Aquila (ภาษาอิตาลี). September 25, 2016.
- ↑ "M6.8 - 25km W of Chauk, Burma". United States Geological Survey. August 24, 2016.
- ↑ "Breaking: earthquake hits central Myanmar". The Myanmar Times. Yangon. Agence France-Presse. August 24, 2016.
- ↑ "M7.1 - North of Ascension Island". United States Geological Survey. August 29, 2016.
- ↑ "M6.8 - 39km E of Namatanai, Papua New Guinea". United States Geological Survey. August 31, 2016.
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]- ShakeMap Background – United States Geological Survey