รัฐอัสสัม
รัฐอัสสัม | |
---|---|
สถาบันไอไอทีคุวาหาฏี, วังอะหัมราชา, กมขายะมนเทียร, รังฆร, โกลิยะภมรเสตุ, แรดอินเดียที่อุทยานแห่งชาติกาซีรังคะ | |
เพลง: "โอ มูระ อาปูนาร เทศ"[1] (O my Dearest Country) | |
พิกัด (Dispur, Guwahati): 26°08′N 91°46′E / 26.14°N 91.77°E | |
ประเทศ | อินเดีย |
จัดตั้งรัฐ† | 26 มกราคม 1950[1] |
เมืองหลวง | ทิสปุระ |
เมืองใหญ่สุด | คุวาหาฏี |
อำเภอ | 33 |
การปกครอง | |
• องค์กร | รัฐบาลรัฐอัสสัม |
• ผู้ว่าการ | ชคทิศ มุขี[2] |
• มุขยนายก | สรพานันท์ โสโนวาล (BJP) |
• นิติบัญญัติ | สภาเดียว (126 ที่นั่ง) |
• รัฐสภา | ราชยสภา (7 ที่นั่ง) โลกสภา (14 ที่นั่ง) |
• ศาลสูง | ศาลสูงคุวาหาฏี |
พื้นที่ | |
• ทั้งหมด | 78,438 ตร.กม. (30,285 ตร.ไมล์) |
อันดับพื้นที่ | ที่ 16 |
ความสูง | 45−1,960 เมตร (148−6,430 ฟุต) |
ประชากร (2011) | |
• ทั้งหมด | 31,169,272 คน |
• อันดับ | ที่ 15 |
• ความหนาแน่น | 397 คน/ตร.กม. (1,030 คน/ตร.ไมล์) |
จีดีพี (2019-20)[3] | |
• รวม | ₹3.24 แลกห์โคร (1.4 ล้านล้านบาท) |
• ต่อหระชากร | ₹82,078 (35,000 บาท) |
ภาษา | |
• ทางการ | ภาษาอัสสัม[4] |
• ทางการเพิ่มเติม | ภาษาเบงกอลในหุบเขาบารัก[5] Bodo in BTAD[6] |
เขตเวลา | UTC+05:30 (IST) |
รหัส ISO 3166 | IN-AS |
HDI (2018) | 0.614[7] medium · ที่ 30 |
การรู้หนังสือ (2011) | 72.19%[8] |
อัตราส่วนเพศ (2011) | 958 ♀/1000 ♂[8] |
เว็บไซต์ | assam |
† ได้รับการรับรองเป็นเขตการปกครองครั้งแรกเมื่อ 1 เมษายน 1911, and led to the establishment of จังหวัดอัสสัม โดแยกออกจากProvince of East Bengal and Assam. ^[*] Assam was one of the original provincial divisions of British India. ^[*] Assam has had a legislature since 1937.[9] | |
สัญลักษณ์ | |
ภาษา | ภาษาอัสสัม |
การแสดง | Bihu dance |
สัตว์ปีก | White-winged wood duck |
ดอกไม้ | เอื้องไอยเรศ |
ต้นไม้ | Dipterocarpus macrocarpus |
เครื่องดื่ม | ชาอัสสัม |
แม่น้ำ | แม่น้ำพรหมบุตร |
อัสสัม (อัสสัม: অসম, ออกเสียง: [ɔxɔm] ) หรือ อาสาม เป็นรัฐทางตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศอินเดีย ตั้งอยู่ทางใต้ของเทือกเขาหิมาลัย ไปตามหุบเขาพรหมบุตรและหุบเขาบารัก รัฐอัสสัมมีพื้นที่ 78,438 ตารางกิโลเมตร (30,285 ตารางไมล์) และมีอาณาเขตติดต่อกับประเทศภูฏานกับรัฐอรุณาจัลประเทศทางเหนือ รัฐนาคาแลนด์กับรัฐมณีปุระทางตะวันออก รัฐเมฆาลัย รัฐตรีปุระ รัฐมิโซรัม และประเทศบังกลาเทศทางใต้ และรัฐเบงกอลตะวันตกทางตะวันตก ที่เชื่อมต่อรัฐอัสสัมเข้ากับประเทศอินเดียส่วนที่เหลือผ่านคอคอดสีลีคุรี (Siliguri Corridor) ที่ยาว 22 กิโลเมตร (14 ไมล์)
รัฐอัสสัมเป็นที่รู้จักจากชาอัสสัมและผ้าไหมอัสสัม แหล่งขุดเจาะน้ำมันแห่งแรกในทวีปเอเชียนั้นตั้งอยู่ที่รัฐอัสสัมเช่นกัน[10]
ศัพทมูล
[แก้]ในยุคคลาสสิกของอินเดียจนถึงศตวรรษที่ 12 ภูมิภาคทางตะวันออกของแม่น้ำกรโตยะ ส่วนใหญ่คือรัฐอัสสัมในปัจจุบัน ถูกเรียกว่ากามรูป หรือ ปราคชโยติศะ[11] ถึงแม้พื้นที่ทางตะวันตกของรัฐจะยังคงถูกเรียกเป็นกามรูป แต่อาณาจักรอาหม ที่เกิดขึ้นในทางตะวันออกและครอบคุลมพื้นที่หุบเขาพรหมบุตร ถูกเรียกเป็นอัสสัม (Assam) ส่วนในเอกสารสมัยจักรวรรดิโมกุลปรากฏเขียนว่า อาชาม (Asham) ในสมัยอาณานิคมอังกฤษได้ถูกเรียกเป็นจังหวัดอัสสัมเช่นกัน อย่างไรก็ตาม ศัพทมูลของคำว่า “อัสสัม” นั้นไม่เป็นที่ชี้ชัดแน่นอน แต่ก็พบว่าคำว่าอัสสัมนั้นมีความเกี่ยวพันกับชาวอาหม หรือชื่อเดิม Shyam แปลว่า ชาวไทใหญ่[12]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ Steinberg, S. (2016). The Statesman's Year-Book 1964–65: The One-Volume ENCYCLOPAEDIA of all nations. Springer. p. 412. ISBN 978-0-230-27093-0.
- ↑ อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อnie-Mukhi
- ↑ "MOSPI Gross State Domestic Product". Ministry of Statistics and Programme Implementation, Government of India. 28 February 2020. สืบค้นเมื่อ 7 March 2020.
- ↑ "Report of the Commissioner for linguistic minorities: 52nd report (July 2014 to June 2015)" (PDF). Commissioner for Linguistic Minorities, Ministry of Minority Affairs, Government of India. pp. 58–59. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 28 ธันวาคม 2017. สืบค้นเมื่อ 16 กุมภาพันธ์ 2016.
- ↑ India, Press Trust of (9 September 2014). "Govt withdraws Assamese as official language from Barak valley". Business Standard India. สืบค้นเมื่อ 29 January 2018.
- ↑ "Bodoland Territorial Council (BTC) Accord". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 19 April 2012. สืบค้นเมื่อ 30 April 2018.
- ↑ "Sub-national HDI – Area Database – Global Data Lab". hdi.globaldatalab.org. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 23 September 2018. สืบค้นเมื่อ 13 September 2018.
- ↑ 8.0 8.1 "Census 2011 (Final Data) – Demographic details, Literate Population (Total, Rural & Urban)" (PDF). planningcommission.gov.in. Planning Commission, Government of India. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 27 January 2018. สืบค้นเมื่อ 3 October 2018.
- ↑ "Assam Legislative Assembly - History". เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 13 September 2016. สืบค้นเมื่อ 14 September 2016.
- ↑ "Here is India's oil story". The Financial Express. 3 May 2018. สืบค้นเมื่อ 21 July 2019.
- ↑ "Prior to the thirteenth century the present region was called Kāmarūpa or, alternatively, Prāgjyotiṣapur", Lahiri, Nayanjot., Pre-Ahom Assam (Delhi 1991) p. 14
- ↑ "Ahoms also gave Assam and its language their name (Ahom and the modern ɒχɒm 'Assam' come from an attested earlier form asam, acam, probably from a Burmese corruption of the word Shan/Shyam, cf. Siam: Kakati 1962; 1-4)." (Masica 1993, p. 50)