เสียงเปิด ปุ่มเหงือกและหลังปุ่มเหงือก
หน้าตา
เสียงเปิด ปุ่มเหงือก | |||
---|---|---|---|
ɹ | |||
ð̠˕ | |||
| |||
หมายเลขไอพีเอ | 151 | ||
การเข้ารหัส | |||
เอนทิตี (ฐาน 10) | ɹ | ||
ยูนิโคด (ฐาน 16) | U+0279 | ||
เอกซ์-แซมปา | r\ or D_r_o | ||
เคอร์เชินบอม | r | ||
ตัวอย่างเสียง | |||
เสียงเปิด หลังปุ่มเหงือก | |
---|---|
ɹ̠ | |
เสียงเปิด ปุ่มเหงือก (อังกฤษ: alveolar approximant) เป็นเสียงพยัญชนะที่มีใช้ในบางภาษา เช่น ภาษาอัสสัม, ภาษาพม่า[1][2] (เฉพาะในคำยืมจากภาษาบาลีและภาษาอังกฤษ), ภาษาเยอรมันสำเนียงมาตรฐานออสเตรีย[3] สัญลักษณ์ในชุดสัทอักษรสากลที่ใช้แทนเสียงนี้คือ ⟨ɹ⟩
เสียงที่พบบ่อยที่สุดที่แทนด้วยตัวอักษร r ในภาษาอังกฤษคือ เสียงเปิด หลังปุ่มเหงือก (postalveolar approximant) ซึ่งถอดเสียงเป็นสัทอักษรสากลอย่างละเอียดแม่นยำโดยใช้สัญลักษณ์ ⟨ɹ̠⟩ แต่โดยทั่วไปมักใช้สัญลักษณ์ ⟨ɹ⟩ แทนเพื่อความสะดวก นอกจากนี้ ในการถอดเสียงตามหน่วยเสียงในภาษาอังกฤษอาจใช้สัญลักษณ์ ⟨r⟩ เพื่อความสะดวกยิ่งขึ้นในการเรียงพิมพ์ แม้ว่าสัญลักษณ์นี้จะแทนเสียงรัว ปุ่มเหงือก ในการถอดเสียงแสดงสัทลักษณ์ก็ตาม
อ้างอิง
[แก้]- ↑ Cornyn (1944:7)
- ↑ Watkins (2001)
- ↑ Moosmüller, Schmid & Brandstätter (2015:340–342)
บรรณานุกรม
[แก้]- Cornyn, William (1944), Outline of Burmese Grammar, Supplement to Language, vol. 20 no. 4, Baltimore: Linguistic Society of America
- Moosmüller, Sylvia; Schmid, Carolin; Brandstätter, Julia (2015), "Standard Austrian German", Journal of the International Phonetic Association, 45 (03): 339–348, doi:10.1017/S0025100315000055
- Watkins, Justin (2001), "Illustrations of the IPA: Burmese" (PDF), Journal of the International Phonetic Association, 31 (2): 291–95, doi:10.1017/S0025100301002122