ข้ามไปเนื้อหา

เพรดนิโซโลน

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เพรดนิโซโลน
ข้อมูลทางคลินิก
ชื่อทางการค้าPrednicort, Predsomed, Other
ชื่ออื่น11,17-Dihydroxy-17-(2-hydroxyacetyl)-10,13-dimethyl-6,7,8,9,10,11,12,13,14,15,16,17-dodecahydrocyclopenta[a] phenanthren-3-one
AHFS/Drugs.comโมโนกราฟ
MedlinePlusa682794
ข้อมูลทะเบียนยา
ระดับความเสี่ยงต่อทารกในครรภ์
  • AU: A
  • US: C (ยังไม่ชี้ขาด)
รหัส ATC
กฏหมาย
สถานะตามกฏหมาย
ข้อมูลเภสัชจลนศาสตร์
ครึ่งชีวิตทางชีวภาพ2-3 ชั่วโมง
การขับออกurine
ตัวบ่งชี้
  • (11β)-11,17,21-Trihydroxypregna-1,4-diene-3,20-dione
เลขทะเบียน CAS
PubChem CID
IUPHAR/BPS
DrugBank
ChemSpider
UNII
KEGG
ChEBI
ChEMBL
ECHA InfoCard100.000.020
ข้อมูลทางกายภาพและเคมี
สูตรC21H28O5
มวลต่อโมล360.444 g/mol g·mol−1
แบบจำลอง 3D (JSmol)
  • O=C\1\C=C/[C@]4(/C(=C/1)CC[C@@H]2[C@@H]4[C@@H](O)C[C@@]3([C@@](O)(C(=O)CO)CC[C@@H]23)C)C
  • InChI=1S/C21H28O5/c1-19-7-5-13(23)9-12(19)3-4-14-15-6-8-21(26,17(25)11-22)20(15,2)10-16(24)18(14)19/h5,7,9,14-16,18,22,24,26H,3-4,6,8,10-11H2,1-2H3/t14-,15-,16-,18+,19-,20-,21-/m0/s1 checkY
  • Key:OIGNJSKKLXVSLS-VWUMJDOOSA-N checkY
  (verify)
สารานุกรมเภสัชกรรม

เพรดนิโซโลน (Prednisolone) เป็นยาสเตอรอยด์สำหรับรักษาภูมิแพ้, การอักเสบ, โรคภูมิต้านตนเอง และโรคมะเร็ง[1][2] นอกจากนี้ บางครั้งมีการนำยานี้ไปใช้ในการรักษาต่อมหมวกไตทำงานไม่เพียงพอ, แคลเซียมในเลือดสูง, ข้ออักเสบรูมาตอยด์, ผิวหนังอักเสบ, ดวงตาอักเสบ, โรคหืด, โรคปลอกประสาทเสื่อมแข็ง สามารถรับยานี้ได้โดยการรับประทาน, ฉีดเข้าหลอดเลือดดำ, ครีมทาผิวหนัง หรือโดยการหยอดตา[3]

อาการข้างเคียงทั่วไปจากการใช้ยาในระยะสั้นได้แก่คลื่นไส้และอ่อนเพลีย ส่วนในระดับรุนแรงได้แก่การเป็นโรคทางจิตเวชซึ่งเกิดขึ้นกับผู้ป่วยราว 5% อาการข้างเคียงทั่วไปจากการใช้ยาในระยะยาวได้แก่โรคกระดูกพรุน, อ่อนล้า, การอักเสบจากเชื้อราแคนดิดา ตลอดจนผิวหนังเป็นรอยง่าย[2] ยานี้ปลอดภัยสำหรับสตรีมีครรภ์หากใช้ในระยะสั้น การใช้ยาในระยะยาวอาจส่งผลต่อทารกในครรภ์[4]

เพรดนิโซโลนถูกค้นพบและได้รับการอนุมัติให้ใช้ในการแพทย์ในปีค.ศ. 1955 เป็นยาในบัญชียาหลักขององค์การอนามัยโลก[5] ปัจจุบันมีวางจำหน่ายเป็นยาสามัญ[2] ราคาจำหน่ายในประเทศไทยอยู่ที่ราว 12-15 บาทต่อหนึ่งเม็ดขนาด 5 มิลลิกรัม

อ้างอิง

[แก้]
  1. WHO Model Formulary 2008 (PDF). World Health Organization. 2009. pp. 53–54. ISBN 9789241547659. สืบค้นเมื่อ 8 December 2016.
  2. 2.0 2.1 2.2 "Prednisolone". The American Society of Health-System Pharmacists. สืบค้นเมื่อ 8 December 2016.
  3. "Search results - (eMC)". www.medicines.org.uk. สืบค้นเมื่อ 13 December 2016.
  4. "Prednisolone Use During Pregnancy | Drugs.com". www.drugs.com. สืบค้นเมื่อ 13 December 2016.
  5. "WHO Model List of Essential Medicines (19th List)" (PDF). World Health Organization. April 2015. สืบค้นเมื่อ 8 December 2016.