เธบาอีน
หน้าตา
ชื่อ | |
---|---|
IUPAC name
3,6-Dimethoxy-17-methyl-6,7,8,14-tetradehydro-4,5α-epoxymorphinan
| |
Systematic IUPAC name
(4R,7aR,12bS)-7,9-Dimethoxy-3-methyl-2,3,4,7a-tetrahydro-1H-4,12-methano[1]benzofuro[3,2-e]isoquinoline | |
ชื่ออื่น
Paramorphine
| |
เลขทะเบียน | |
3D model (JSmol)
|
|
ChEBI | |
ChEMBL | |
เคมสไปเดอร์ | |
ECHA InfoCard | 100.003.713 |
KEGG | |
MeSH | Thebaine |
ผับเคม CID
|
|
UNII | |
CompTox Dashboard (EPA)
|
|
| |
| |
คุณสมบัติ | |
C19H21NO3 | |
มวลโมเลกุล | 311.37 g/mol |
เภสัชวิทยา | |
Low[2] | |
เภสัชจลนศาสตร์: | |
O-demethylation[1] | |
สถานะทางกฎหมาย |
|
หากมิได้ระบุเป็นอื่น ข้อมูลข้างต้นนี้คือข้อมูลสาร ณ ภาวะมาตรฐานที่ 25 °C, 100 kPa
|
เธบาอีน (Thebaine) หรือ พารามอร์ฟีน (Paramorphine) เป็นสารที่พบได้ใน ฝิ่น คุณสมบัติทางเคมีคล้ายกับทั้ง มอร์ฟีน และ โคดีอีน แต่มันมีฤทธิ์กระตุ้นน้อยกว่าฤทธิ์กด โดยตัวของมันเองไม่มีสรรพคุณในการรักษาโรคอะไร แต่มันสามารถเปลี่ยนไปเป็นสารประกอบได้หลายตัวดังนี้
- โคดีอีน (codeine)
- ไฮโดโคโดน (hydrocodone)
- ไฮโดรมอร์ฟีน (hydromorphone)
- ออกซิโคโดน (oxycodone)
- ออกซิมอร์ฟีน (oxymorphone)
- นัลบูฟิน (nalbuphine)
- นาล็อกโซน (naloxone)
- นัลทรีโซน (naltrexone)
- บูพรีนอร์ฟิน (buprenorphine)
- อีทอร์ฟิน (etorphine)
อ้างอิง
[แก้]- ↑ Mikus, G.; Somogyi, A. A.; Bochner, F.; Eichelbaum, M. (1991). "Thebaine O-demethylation to oripavine: Genetic differences between two rat strains". Xenobiotica. 21 (11): 1501–9. doi:10.3109/00498259109044400. PMID 1763524.
- ↑ WHO Advisory Group (1980). "The dependence potential of thebaine". Bulletin on Narcotics. 32 (1): 45–54. PMID 6778542. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-05-12.