ข้ามไปเนื้อหา

เคอร์ทิสส์ เอสบี2ซี เฮลไดเวอร์

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เอสบี2ซี เฮลไดเวอร์
เอ-25 ไชรคส์
หน้าที่ เครื่องบินดำดิ่งทิ้งระเบิด
ประเทศผู้ผลิต  สหรัฐอเมริกา
ผู้ผลิต เคอร์ทิสส์-ไรท์
สร้างโดย
เที่ยวบินแรก 18 ธันวาคม 2483
เริ่มใช้ ธันวาคม 2485
ปลดระวาง 2502 (อิตาลี)
ผู้ใช้หลัก กองทัพเรือสหรัฐ
การผลิต 2486–2488
จำนวนที่ถูกผลิต 7,140
พัฒนาเป็น Curtiss XSB3C

เคอร์ทิสส์ เอสบี2ซี เฮลไดเวอร์ (อังกฤษ: Curtiss SB2C Helldiver) เป็นเครื่องบินดำดิ่งทิ้งระเบิดของสหรัฐในสงครามโลกครั้งที่สอง พัฒนาโดยเคอร์ทิสส์-ไรท์ ใช้โดยกองทัพเรือสหรัฐ บนเรือบรรทุกเครื่องบิน ซึ่งถูกนำมาใช้แทนที่ดักลาส เอสบีดี ดอนท์เลสส์

ประจำการ

[แก้]
ธงของประเทศออสเตรเลีย ออสเตรเลีย
ธงของประเทศฝรั่งเศส ฝรั่งเศส
A preserved Greek SB2C-5.
 กรีซ
ธงของประเทศอิตาลี อิตาลี
ธงของประเทศโปรตุเกส โปรตุเกส
 ไทย
Curtiss SB2C-5 Helldiver at the Royal Thai Air Force Museum.
 สหราชอาณาจักร
 สหรัฐอเมริกา

คุณลักษณะ (เอสบี2ซี-4 เฮลไดเวอร์)

[แก้]
Curtiss SB2C Helldiver 3-view drawing

ข้อมูลจาก United States Navy Aircraft since 1911[3]

ลักษณะทั่วไป

  • ลูกเรือ: 2
  • ความยาว: 36 ft 8 in (11.18 m)
  • ระยะระหว่างปลายปีกสองข้าง: 49 ft 9 in (15.16 m)
  • ความสูง: 13 ft 2 in (4.01 m)
  • พื้นที่ปีก: 422 sq ft (39.2 m2)
  • Airfoil: root: NACA 23017; tip: NACA 23009[4]
  • น้ำหนักเปล่า: 10,547 lb (4,784 kg)
  • น้ำหนักรวม: 16,616 lb (7,537 kg)
  • Powerplant: 1 × Wright R-2600-20 Twin Cyclone 14-cylinder air-cooled radial piston engine, 1,900 hp (1,400 kW)
  • ใบพัด: 4 ใบ constant-speed propeller

สมรรถนะ

  • ความเร็วสูงสุด: 295 mph (475 km/h, 256 kn) at 16,700 ft (5,100 m)
  • ความเร็วที่เครื่องบินบินได้: 158 mph (254 km/h, 137 kn)
  • Combat range: 1,165 mi (1,875 km, 1,012 nmi) with 1,000 lb (450 kg) bomb-load
  • ความสูงที่เครื่องบินบินได้: 29,100 ft (8,900 m)
  • Rate of climb: 1,800 ft/min (9.1 m/s)

Armament

อ้างอิง

[แก้]
  1. aeroflight
  2. 2.0 2.1 World Air Forces – Historical Listings Thailand (THL), คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 25 January 2012, สืบค้นเมื่อ 30 August 2012
  3. Swanborough, Gordon; Bowers, Peter M. (1990). United States Navy aircraft since 1911 (3rd ed.). London: Putnam. pp. 166–168. ISBN 0870217925.
  4. Lednicer, David. "The Incomplete Guide to Airfoil Usage". m-selig.ae.illinois.edu. สืบค้นเมื่อ 16 April 2019.
  5. Donald 1995, pp. 80–151.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]