ข้ามไปเนื้อหา

เคปเลอร์-1649ซี

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เคปเลอร์-1649ซี
Kepler-1649c
การค้นพบ
ค้นพบโดย:Kepler spacecraft
ค้นพบเมื่อ:15 เมษายน พ.ศ. 2563
หลักการค้นพบ:Transit
ลักษณะของวงโคจร

เคปเลอร์-1649ซี (อังกฤษ: Kepler-1649c) เป็นดาวเคราะห์นอกระบบที่โคจรรอบดาวแคระแดง Kepler-1649 ชนิด M ประมาณ 300 ปีแสงจากโลก [1] ในปี ค.ศ. 2020, Jeff Coughlin ผู้อำนวยการสำนักงานวิทยาศาสตร์ K2 ของ SETI อธิบายว่ามันเป็น "ดาวเคราะห์ที่คล้ายกับโลกมากที่สุด" ที่ค้นพบโดยกล้องโทรทรรศน์อวกาศเคปเลอร์ [2] เดิมดาวเคราะห์ดวงนี้เป็นข้อมูลที่ถูกคัดทิ้งโดยอัลกอริทึมชื่อ robovetter ของเคปเลอร์ ทีมวิจัยได้นำข้อมูลมาวิเคราะห์อีกครั้งจึงค้นพบ และตีพิมพ์ในวันที่ 15 เมษายน พ.ศ. 2563[3][4]

อ้างอิง

[แก้]
  1. April 2020, Mike Wall 15. "Newfound alien planet may be most Earth-like yet". Space.com (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2020-04-16.
  2. Georgiou, Aristos (16 April 2020). "Potentially habitable exoplanet that is Earth-like in size and temperature was discovered 300 light-years away". Newsweek (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 17 April 2020.
  3. Vanderburg, Andrew; Rowden, Pamela; Bryson, Steve; Coughlin, Jeffrey; Batalha, Natalie; Collins, Karen A.; Latham, David W.; Mullally, Susan E.; Colón, Knicole D.; Henze, Chris; Huang, Chelsea X. (2020-04-15). "A Habitable-zone Earth-sized Planet Rescued from False Positive Status". The Astrophysical Journal. 893 (1): L27. arXiv:2004.06725. Bibcode:2020arXiv200406725V. doi:10.3847/2041-8213/ab84e5. ISSN 2041-8213.
  4. Strickland, Ashley (15 April 2020). "New potentially habitable exoplanet is similar in size and temperature to Earth". CNN. สืบค้นเมื่อ 17 April 2020. The study published Wednesday in The Astrophysical Journal Letters.