ข้ามไปเนื้อหา

ดิลมัน

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก อารยธรรมดิลมูน)
ดิลมัน
สถานที่ตั้งอาณาจักรต่าง ๆ
ที่ตั้งอาหรับตะวันออก
ภูมิภาคNorthern Governorate
ประเภทโบราณ
ส่วนหนึ่งของอาหรับตะวันออก
ความเป็นมา
สร้างc. ปลายศตวรรษที่ 4 ก่อนคริสต์กาล[1]
ละทิ้งราว 538 ปีก่อนคริสต์กาล
สมัยยุคสำริด

ดิลมัน หรือ เทลมัน (ซูเมอร์: ,[2][3] ต่อมา 𒉌𒌇(𒆠), NI.TUKki = dilmunki; อาหรับ: دلمون; อังกฤษ: Dilmun) เป็นอารยธรรมโบราณที่พูดภาษาเซมิติกตะวันออกในคาบสมุทรอาหรับตะวันออก ซึ่งได้รับการกล่าวถึงตั้งแต่ 3,000 ปีก่อนคริสตกาล เป็นต้นมา[4][5] จากหลักฐาน พบว่าตั้งอยู่บริเวณอ่าวเปอร์เซีย บนเส้นทางการค้าระหว่างเมโสโปเตเมียและอารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ ใกล้ทะเลและบ่อน้ำบาดาล[1][6] ดิลมันมีอาณาเขตครอบคลุมตั้งแต่บาห์เรน[7] คูเวต[8][9][10] และซาอุดีอาระเบียตะวันออก[11]

ความสัมพันธ์ทางการค้าอันยิ่งใหญ่ระหว่างเมโสโปเตเมียและดิลมันนนั้นแข็งแกร่งและลึกซึ้งถึงขนาดที่ดิลมันเป็นผู้มีบทบาทสำคัญในตำนานการสร้างโลกของชาวซูเมอร์

ดิลมันเป็นศูนย์กลางการค้าที่สำคัญ ในช่วงที่มีอำนาจสูงสุด จักรวรรดิได้ควบคุมเส้นทางการค้าในอ่าวเปอร์เซีย[1] ตามทฤษฎีสมัยใหม่บางประการ ชาวซูเมอร์ ถือว่าเมืองดิลมันเป็นสถานที่ศักดิ์สิทธิ์[12] แต่ไม่ปรากฏหลักฐานโบราณ ชาวเมโสโปเตเมียกล่าวถึงเมืองดิลมันในฐานะพันธมิตรทางการค้า แหล่งทองแดง และแหล่ง การค้า

นิทานซูเมอร์เรื่องสวนสวรรค์แห่งดิลมันอาจเป็นแรงบันดาลใจให้เกิดนิทานเรื่อง สวนเอเดน[13][14][15]

อ้างอิง

[แก้]
  1. 1.0 1.1 1.2 Jesper Eidema, Flemming Højlund (1993). "Trade or diplomacy? Assyria and Dilmun in the eighteenth century BC". World Archaeology. 24 (3): 441–448. doi:10.1080/00438243.1993.9980218. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่สมเหตุสมผล มีนิยามชื่อ "hoj" หลายครั้งด้วยเนื้อหาต่างกัน
  2. Transliteration: "CDLI-Found Texts". cdli.ucla.edu.
  3. Similar text: "CDLI-Found Texts". cdli.ucla.edu.
  4. Smith, Sylvia (2013-05-21). "Bahrain digs unveil one of oldest civilizations". BBC News. BBC.
  5. "Qal'at al-Bahrain – Ancient Harbour and Capital of Dilmun". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 17 August 2011.
  6. Harriet E. W. Crawford (1998). "Dilmun and Its Gulf Neighbors". p. 9.
  7. "The Invention of Cuneiform: Writing in Sumer". Jean-Jacques Glassner. 1990. p. 7.
  8. Archived at Ghostarchive and the Wayback Machine: "Kuwait's archaeological sites reflect human history & civilizations (2:50 – 3:02)". Ministry of Interior News. 2 November 2013.
  9. Calvet, Yves (1989). "Failaka and the Northern Part of Dilmun". Proceedings of the Seminar for Arabian Studies. 19: 5–11. JSTOR 41223078.
  10. "The Archaeology of Kuwait" (PDF). Cardiff University. pp. 5–427.
  11. "Prehistory and Protohistory of the Arabian Peninsula: Bahrain". M. A. Nayeem. 1990. p. 32.
  12. Rice, Michael (2004). Egypt's Making: The Origins of Ancient Egypt 5000–2000 BC. Routledge. ISBN 978-1-134-49263-3., page 230
  13. Edward Conklin. Getting Back Into the Garden of Eden. p. 10.
  14. Kramer, Samuel Noah (1961). Sumerian Mythology: A Study of Spiritual and Literary Achievement in the Third Millennium B.C.: Revised Edition. Philadelphia, Pennsylvania: University of Pennsylvania Press. pp. 54–59. ISBN 978-0-8122-1047-7. สืบค้นเมื่อ 21 May 2017.
  15. Kramer, Samuel Noah (1963). The Sumerians: Their History, Culture, and Character. Chicago, Illinois: University of Chicago Press. pp. 145–150. ISBN 978-0-226-45238-8. In fact, there is some reason to believe that the very idea of a paradise, a garden of the gods, originated with the Sumerians.